Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ
1.การพยาบาลเพื่อการจัดการปัญหา
ภาวะโภชนาการ
ความต้องการสารอาหาร
ความต้องการโปรตีน ผู้สูงอายุต้องการโปรตีนเพื่อซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกายมากกว่าวัยหนุ่มสาว
ความต้องการไขมัน ผู้สูอายุควรได้รับไขมันไม่เกิน30%ของพลังงาน ควรลดไขมันอิ่มตัว
ความต้องการพลังงาน ต้องมีพลังงานลดลงเนื่องจากการเผาผลาญในร่างกายลดลง ร่วมกับมีกิจกรรมต่างๆลดลง
ตวามต้องการแร่ธาตุ ต้องการแร่ธาตุเท่ากันในวัยผู้ใหญ่ แร่ธาตุผู้สูงอายุมักขาดเนื่องจากการดูดซึมน้อยลง
ความต้องการวิตามิน ผลไม้ที่เปป็นแหล่งอาหารให้วิตามิน เกลือแร่ใยอาหาร
การประเมินอาหารที่บริโภค
การประเมินอาหารที่ควรบริโภค โดยการซักประวัติ การรับประทานอาหารใน24ชั่วโมง
การวัดความหนาใต้ผิวหนัง ด้วยคีมหนีบไขมัน ในผู้หญิงหลังแขน ผู้ชายบริเวณหน้าท้อง
การประเมินทางคลินิก การซักประวัติ ตรวจร่างกาย โรคขาดวิตามินA ขาดไอโอดีน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
ภาวะโภชนาการ
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง เนื่องจากตับอ่อนหลั่งอินซูลินลดลง
ปัญหาทางด้านจิตใจ เช่นภาวะซึมเศร้า ความเหงาการเกษียณ คู่ครอง เสียชีวิต
การทำหน้าที่กระเพาะอาหารลดลงทำให้ย่อยโปรตีนได้น้อยลง ความด่างในลำไส้เพิ่มมากขึ้นทำให้การดูดซึมวิตามินซีบี12
ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งอาหาร เช่นการเดินทาง การขนส่งที่สะดวก
การทำหน้าที่รับรสและการดมกลิ่นลดลง ต่อมรับรส ที่ลิ้นลดลง การรับรสหวานเปรี้ยว เค็ม
ปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
แนวทางการพยาบาล ภาวะโภชนาการเกิน ประเมินสาเหตุการควบคุมน้ำหนักอยุ่ในเกณฑ์ปกติ
ภาวะโภชนาการต่ำ ประเมินสาเหตุของทุพโภชนาการ/ปรับปริมาณอาหาร ในกรณีก่ีกิน การจัดอาหารให้แก่ผู้สูงอายุ
7.การมีส่วนร่วมในสังคม
ประโยชน์ที่ได้รับจากกิจกรรมบริการผู้อื่น
การเสียสละต่อสังคม จะทำให้ภาพพจน์ของตนเองน่าพึงพอใจ
เสียสละหรือบริการผู้อื่น จะทำให้สุขภาพจิตดีขึ้น และพลอยทำให้สุขภาพดีด้วย
การได้เสียสละ เช่นการทำประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นเป็นการแสดงว่าผู้อื่นยังต้องการท่าน
ประเภทของการมีส่วนร่วมในสังคม
กิจกรรมที่ไม่มีรูปแบบ การช่วยเหลืองานของสมาชิกครอบครัว
กิจกรรมที่ทำคนเดียว การทำงานในยามว่าง กิจกรรมเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจส่วนตัว
ความสำคัญของการมีส่วนร่วม
ในสังคมของผู้สูงอายุ
บุคคลที่เพียบพร้อมไปด้วยความรู้ ประสบการณ์ ผู้ถึงความพร้อมทั้งคุณวุฒิและวัยวุฒิ เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า หลายคนอาจเคยเป็นครู พยาบาล เป็นผู้นำทางกฏหมาย มีความพอใจในการงานที่จะทำ
ความหมายการมีส่วนร่วมในสังคม
การมีกิจกรรมในครอบครัวชุมชน และสังคม เป็นผู้ดำรงไว้ซึ่งมนุษยชนและวัฒนธรรมของสังคม ที่ยังคงมีส่วนร่วมในกิจกรรมนั้นๆ
2.การพยาบาลเพื่อส่งเสริม
การส่งเสริมการกำลังกาย
ประเภทการออกกำลังกาย
แบ่งออกเป็น3ประเภท
ประเภทที่1 การออกกำลังกายที่เพิ่มความแข็งแรง
และทนทานของกล้ามเนื้อ แบ่งเป็น2ชนิด
การออกกำลังกายที่ความยาวของกล้ามเนื้อคงที่เป็นการออกกำลังอยู่กับที่ ใยกล้ามเนื้อมีการเปลี่ยนแปลงความยาวเล็กน้อย
การออกกำลังกายใช้กล้ามเนื้อมีการเปลี่ยนแปลงความยาว ความตึงตัวของกล้ามเนื้อเปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อย
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มสมรรถภาพ
ของปอดและหัวใจแบ่ง2กลุ่ม
การออกกำลังใช้ออกซิเจนมากโดยสม่ำเสมอ เช่นการว่ายน้ำ วิ่งเหยาะ
การออกกำลังกายโดยไม่ใช้ออกซิเจน แต่ใช้น้อย เช่นการวิ่งสั้น การเล่นฟุตบอล
แนวทางการจัดโปรแกรมการออกกำลังกาย
ตรวจร่างกายไม่ว่าความเจ็บป่วย หากมีปัญหาทางสุขภาพควรปรึกษาแพทย์ เพื่อดัดแปลง
การประเมินการทำกิจกรรม การเคลื่อไหวของข้อ
ประโยชน์ของการออกกำลังกาย
ทำให้ร่างกายมีสมรรภาพทางกายดีขึ้น ลดอัตราการเสื่อมของกระดูก ทำให้การประสานงานของกล้ามเนื้อดีขึ้น เพิ่มมวลกล้ามเนื้อทำให้หัวใจแข็งแรงขึ้น
ลดอัตรการการเกิดโรคที่ป้องกันได้ เช่นหัวใจ อ้วน ความดันโลหิตสูง
ลดภาวะการณ์พึ่งพา ลดภาวะทุพพลภาพ
4.การจัดการความเครียดในผู้สูงอายุ
การจัดการต่อความเครียด การจัดการกับความเครียดโดยมุ่งแก้ไขปํญหา การเผชิญปัญหา คือการที่บุคคลยอมรับและตระหนัก ถึงปัญหาที่เกิดขึ้น การปรับแก้โดยมุ่งอารมณ์ การประเมินทางการพยาบาลควรประเมินข้อมูลอัตนัย โดยวิธีการต่างๆ การซักประวัติ การสังเกต การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินความเครียด การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ อาจพบน้ำตาลสูง การวัดความตึงตัวของกล้ามเนื้อ โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่าอิเลคโทรไมโอแกรม
การตอบสนองต่อความเครียด การตอบสนองทางด้านร่างกาย เป็นการปรับตัว การตอบสนองทางด้านจิตใจเมื่อเกิดความเครียด กลวิธีทางจิตใจที่บุคคลใช้เพื่อแก้ไขสภาวะที่ถูกคุมคาม ต่อเสถียรภาพทางด้านจิตใจ เรียนรู้ความเครียดในยามที่เราไม่สามารถหนีจากสภาวะความเครียด
สาเหตุของความเครียด ทางด้านร่างกาย ขาดปัจจัยพื้นฐาน ได้แก่การขาดสารอาหาร ที่อยู่อาศัย ด้านจิตใจ การถูกทอดทิ้ง การสูญเสีย สาเหตุทางสังคม สภาวะทางด้่านสังคม
การพยาบาลผู้สูงอายึุที่มีภาวะเครียด การวินิจฉัยการพยาบาล กำหนดวัตถุประสงค์ การปฏิบัติการพยาบาล เป็นการช่วยเหือสนับสนุนให้ผู้สูงอายุสามารถจัดการความเครียด การประเมินผลทางการพยาบาล
การป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม
ปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
สาเหตุการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ ได้อกาปัจจัยที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการเสื่อมของร่างกายตามวัย ความผิดปกติระบบเลือดหัวใจ มีความผิดปกติทางระบบไหลเวียนโลหิต การเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย
ผลกระทบของการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
ผลกระทบทางร่างกาย การหกล้มส่งผลทำให้ร่างกายได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย ถึงอาการฟกช้ำ เคล็ดขดยอก
ผลกระทบทางด้านจิตใจ ส่งผลทางด้ายจิจตใจเฉพาะในผู้ที่เคยมีประสบการณ์ของการหกล้มจะเกิดความกลัว
ความหมายของการพลัดตกหกล้ม
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากการที่บุคคลเสียหลักล้มลงไปที่พื้น หรือพื้นที่ระดับต่ำกว่า ซึ่งไม่ได้เกิดจากการถูกทำร้ายหรือการหมดสติ การพลัดตกหกล้ม อุบัติการณ์ที่บุคคลเสียหลักล้มลงไปที่พื้น
หลักการป้องกันการพลักตกหกล้ม
การให้คำแนะนำแก่ผู้สูงอายุในการป้องกันโรคที่เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
การดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงสูง ต่อการพลัดตกหกล้ม ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมโดยการประสานงานมนการดำเนินงาน ปรับปรุงที่อยู่อาศัยเช่นการจัดวางสิ่งที่ให้เป็นระเบียบ
6.การพยาบาลเพื่อการจัดสิ่งแวดล้อม
สำหรับผู้สูงอายุ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายที่ส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บเนื่องจากการมีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม
การเสื่อมถอยทางการได้ยิน เช่นหูตึง ได้ยินไม่ชัด ไม่สามารถแยกเสียงพูดออกจากเสียงที่รบกวน
ความเสื่อมถอยของกระดูก ได้แก่ กระดูกพรุนส่งผลให้หลังโค้งงอ
ลานสายตาแคบลง การมองเห็นไม่ชัดเจน จากโรคต้อกระจก
ความเสื่อมถอยของกล้ามเนื้อ ได้แก่ กล้ามเนื้ออ่อนแรง
สิ่งแวดล้อมของที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม
บันได ควรติดกั้นราวบันไดมั่นคงเพื่อให้สะดวกในการยึดเกาะเดินขึ้นลง ไม่ชันมากเกินไป บริเวณบันไดไม่ควรวาง หรือสิ่งกีดขวางทางเดิน
ห้องนอนควรจัดให้อยู่ในพื้นที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก ไม่ร้อนอบอ้าว
พื้น ควรปรับให้มีลกษณะเป็นพื้นเรียบ ไม่ขรุขระและไม่ขัดมันจนลื่น พื้นห้องที่ต้องให้ความใส่ใจในเรื่องความปลอดภัยเป็นพิเศษ คือห้องน้ำ ห้องส้วม เพราะเปียกจะทำให้มีอาการลื่น
ตัวบ้าน ควยเป็นบ้านชั้นเดียว ไม่มีขั้นที่สูง มีชานพักหรือบันไดที่กว้างลึก หากบ้าน2ชั้น อาจให้นอนด้านล่าง
สัญญาณคอความช่วยเหลือเป็นสิ่งที่ควรติดไว้ตามจุดต่างๆภายในบ้านไม่ว่าเป็นห้องน้ำห้องนอน
3.การพยาบาลเพื่อกาารส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ปัจจัยที่มีผลต่อการนอนไม่หลับ
ปัจจัยภายในร่างกาย ความเจ้บป่วยการไม่สุขสบาย รบกวนการนอน
ปัจจัยภานนอก ระยะเวลาการหลับนอนลดลง สะดุ้งตื่นเพิ่มขึ้น
การประเมินภาวะนอนไม่หลับ
คำถามเบื้องต้นสำหรับการประเมินการนอน ตรวจสอบโรคประจำตัว การใช้สารเสพติด เป้นต้น
แบบแผนการนอนหลับในผู้สูงอายุ
ตื่นเป็นระยะ1-2ครั้ง/คืน
ตื่นเร็วกว่าเดิและงีบหลับ
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการนอนหลับ
เมื่อเข้านอนให้ตรงเวลา
เข้านอนเมื่อรู้สึกง่วงเท่านั้น
จัดสิ่งแวดล้อมที่เงียบปราศจากสิ่งรบกวน ผ่อนหลาย
กลไกทางสรีรวิทยาของการนอนหลับในผู้สูงอายุ
NREMเป็นระยะที่ไม่มีการกรอกตาอย่างรวดเร็ว
REM เป็นระยะที่การกรอกตาอย่างรวดเร็ว เป็นขั้นตอนของการนอนหลับๆตื่นๆ
5.การนันทนาการในผู้สูงอายุกับ
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ประโยชน์ของการกิจกรรมนันทานาการต่อผู้สูงอายุ
ด้านสติปัญญา ฝึดให้ใช้สมองได้คิดการวางแผน
ด้านจิตใจ นำไปสู่การมองโลกในแง่ดี ความรู้สึกมีอิสระที่จะลือก กระทำสอ่งต่างๆด้วตนเอง ความรู้สึกมีค่าในตนเอง
ด้านร่างกาย เมื่อปฏิบัติเข้าร่วมกิจกรรมทางกายกลายอย่าง สม่ำเสมอจะทำให้ร่างกายแข็งแรง อายุยืนยาว
กิจกรรมนันทนาการที่เหมาะ
กิจกรรมนันทนาการเกม กีฬา และการละเล่น เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมนันทนาการศิลปะหัตถกรรม และงานฝีมือ กิจกรรมที่มีให้ทำให้เกิด ความภูมิใจ อีกทั้งยังมีประโยชน์
กิจกรรมนันทนาการเข้าจังหวะและการเต้นรำ เป็นกิจกรรมที่เคลื่อนไหวแระกอบจังหวะดนตรีเสียงเพลง
คุณลักษณะของการนันทนาการ ต้องมีการกระทำ มีการแสดงออกถึงการกระทำ ต้องเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจ เป็นกิจกรรมที่ให้การศึกษา กิจกรรมที่ทำต้องไม่เป็นอาชีพ ต้องมุจุดมุ่งหมาย
แนวทางการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ประเมินผู้สูงอายุ ประเมินข้อมูลพื้นฐาน
ควรนึกถึงความต้องการทางถนัด ความสนใจในกิจกรรมนันทนาการ ความสนใจ ความสามารถของผู้สูงอายุ เป้นสำคัญ
การเลือกกิจกรรมนันทนาการ เลือกใหเหมาะกับการที่ผุ้สูงอายุใีความสามารถเหมาะสม
ความหมายนันทนาการ กิจกรรมที่ทำในยามว่าง เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินและผ่อนคลายความตึงเครียด นันทนาการต่างๆเป็นสื่อช่วงเวลาว่าง เวลาอิสระ โดยการเข้าร่วมด้วยใจ แรงจูงใจ