Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ - Coggle Diagram
โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ
โภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์
ร่างกายต้องการสารอาหารมากขึ้น
ทารกขาดสารอาหาร มีผลต่อการเจริญเติบโต
เด็กขวบแรกขาดอาหาร สมองจะช้ากว่าปกติ สมองเล็ก
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระหญิงตั้งครรภ์
การคลื่นใส้อาเจียน
แพ้ท้อง มักเป็นตอนเช้า ระยะแรกของการตั้งครรภ์
แพ้อยากกินอาหารแปลกเรียก PICA
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
-
ตลอดการตั้งครรภ์ควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น12.5กก.
น้ำหนักของทารกที่คลอดมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มของน้ำหนักแม่
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารและลำไส้ เคลื่อนไหวน้อย
น้ำย่อยย้อนกลับเข้าสู่หลอดอาหาร Heartburn
ท้องผูกเพราะขนาดครรภ์ทับลำไส้
การเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนเลือด
ปริมาตรเลือดเพิ่ม
การเพิ่มขึ้นของ plasmaมากกว่า เม็ดเลือดแดง
Hemoglobin น้อย โลหิตจาง
Heamatocrit น้อย โลหิตจาง
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
estrogen , progesterone สร้างรก
ช่วยให้ผนังมดลูกแข็งแรง
มดลูกเพิ่มความจุ
เพิ่มจำนวนขิงหลอดเลือด น้ำเหลืองและเส้นประสาท
มดลูก3เดือนแรกได้รับอิทธิพลมาจาก
estrogen
progesterone
เกณฑ์การเพิ่มของน้ำหนักตัวในหญิงตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักตัวปกติ ให้นมบุตรหลังคลอด
ควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตลอดการครรภ์12กก.
หญิงตั้งครรภ์ที่เป้นวัยรุ่น <18 นน.ตัวน้อยกว่าร้อยละ9ของมาตรฐาน
ควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตลอดการครรภ์14-15กก.
หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักเกิน
ควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตลอดการครรภ์10กก.
หญิงตั้งครรรภ์ที่มีลูกแฝด
ควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตลอดการครรภ์18กก.
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคอ้วน
ควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตลอดการครรภ์ 7-8กก.
ความต้องการสารอาหารขณะตั้งครรภ์
โฟเลท
เซลล์และการแบ่งเซลล์จะบกพร่อง
สร้างเม็ดเลือดแดง
ผลไม้ ผักใบเขียว ถั่วต่างๆ
วันละ500มคก.
วิตามินบี6
ควรเพิ่มจากเดิม0.6มก.
ช่วยเผาผลาญ และสังเคราะห์กรดอะมิโน
ไอโอดีน
ได้รับไม่พอจะเป็นโรคคอพอก
ทารกเล็กแกรน สติปัญญาต่ำ
อาหารทะเล
วันละ175ไมโครกรัม
วิตามินซี
วันละ80มก.
ขาด ครรภ์จะเป็นพิษ และคลอดก่อนกำหนด
เหล็ก
สร้างเม็ดเลือดแดง
นม กุ้ง ปลาเล็กปลาน้อย นมถั่วเหลือง เต้าหู้
ถ้าไม่พอ อาจเกิดโลหิตจาง
ตับ ม้าม ไต เลือด ไข่แดง
แคลเซียม
สร้างกระดูกและฟันของทารก
ถ้าได้รับแคลเซียมไม่พอ จะดึงเอาของแม่มาใช้
ควรรับวันละ1200มก.
โปรตีน
3-6เดือนหลังคลอด มีผลต่อสติปัญญา
ควรกินเพิ่มมากกว่า10-14กรัมต่อวัน
ได้จากสัตว์ประมาณ2ใน3ของโปรตีนทั้งหมด
วิตามินเอ
วันละ800มคก.RE
รับมากเกิน ทารกผิดปกติ
สารอาหารที่ให้พลังงาน
ตลอดการตั้งครรภ์ควรเพิ่ม80000กิโลแคลอรี่
คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน ได้จาก นม ไข่ ขาว
ควรหลีกเลี่ยงขนมหวานจัด น้ำอัดลม อาหารที่มีไขมันมาก
วิตามินดี
วันละ10มก.
ขาด ภาวะแคลเซียมต่ำ
มาก แคลเซียมสูงอย่างรุนแรงจะอันตราย
ปัจจัยอื่นที่มีผลต่อการตั้งครรภ์
แอลกอฮอล์
ปราศจากโปรตีน วิตามิน เกลือแร่ หญิงตั้งครรภ์ไม่ควรดื่ม
Fetal alcoholic syndrome ความผิดปกติของทารก
สมองช้า ทำลายภูมิคุ้มกัน ความผิกปกติของใบหน้า กะโหลกศีรษะ และแขนขา
คาเฟอีน
ชา กาแฟ น้ำอัดลม ช็อคโกแลต
กระตุ้นประสาทส่วนกลาง อยู่ในกระแสเลือดนาน ผ่าน รก เข้าสู่ทารกได้
น้อยกว่า300มก/วัน
ไม่มีผลต่อการเพิ่มความเสี่ยงต่อการแท้ง
แนวทางการบริโภคอาหาร
ผลไม้
ละ 2-4 ครั้ง
มะละกอสุก สับประรด กล้วย
ผักชนิดต่างๆ
วันละ 2-3 ถ้วย
ตวง
ผักบุ้ง ผักต าลึง ผักคะน้า ฟักทอง
ไข่
ข่วันละ 1 ฟอง
ให้คุณค่าทางโภชนาการสูง
ถั่วเมล็ดต่างๆ
ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วแดง ถั่วด า และถั่วลิสง
วันละ 1/2 ถ้วยตวง
นม
วันละ 1-2 แก้ว
ถดูดซึมได้ดี รวมทั้งวิตามิน บีและ
เอ
ไขมันหรือน้ำมัน
ให้พลังงานแก่ร่างกาย
ให้กรดไขมันที่จ าเป็น
ช่วยในการดูดซึม
วิตามินที่ละลายในน้ ามัน
ควรบริโภคในระดับปานกลาง
เนื้อสัตว์ต่างๆ
ควรได้รับเนื้อสัตว์ต่างๆ เช่น เนื้อ หมู ปลา กุ้ง หอย ไก่หรือเป็ด
วันละ 120-180 กรัม
บริโภคถั่วเหลืองหรือเต้าหู้แทนเนื้อสัตว์
น้ำ
6-8 แก้ว
โภชนาการสำหรับหญิงหลังคลอดและให้นมบุตร
เพิ่มปริมาณขึ้นเพราะทารก
ต้องการสารอาหารมากกว่าตอนอยู่ในท้อง
ความต้องการวิตามินและแร่ธาตุบางชนิดเพิ่มขึ้น
การหลั่งน้ำนมของแม่จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ
ควรให้นมลูกทุกๆ 2 ถึง 3 ชม
แม่ที่ไม่ค่อยให้ลูกดูดนม น้ านมจะน้อย
การทำงานหนัก เหนื่อย หรืออดนอน ทำให้มีน้ำนม
อารมณ์มีผลต่อการหลั่งของนำ้นม
ชนิดของน้ำนมแม่
น้ำนมเหลือง(Colostrum)
ช่วง 2-4 วันหลังคลอด
มีแร่ธาตุและโปรตีนมาก มีสารที่เป็นภูมิคุ้มกัน
น้ านมระยะปรับเปลี่ยน(Transitional milk)
ช่วง 7-10 วันหลัง
คลอดไปจนถึง 2 สัปดาห์หลังคลอด
มีน้ำตาล ไขมัน วิตามิน
น้ำนมแท้(Mature milk)
นวันที่ 10 หลังคลอดหรือ 2 สัปดาห์หลัง
คลอด
ได้รับน้ำ
เพียงพอ
ข้อดีของการให้ลูกดูดนมมารดา
ประจำเดือนมาช้า ช่วยในการวางแผนครอบครัว
ทำให้มดลูกเข้าอู่เร็ว
ความต้องการสารอาหารในระยะให้นมบุตร
ธาตุเหล็ก
ต้องการธาตุเหล็กวันละ 15 มก.
ไอโอดีน
เพิ่มอีกวันละ 50 ไมโครกรัม
แคลเซียม
ควรได้รับแคลเซียม 1,200 มก.
ต่อวัน
วิตามินชนิดต่างๆ
วิตามินเอ
ควรได้รับเพิ่มอีกวันละ 375 ไมโครกรัม
ไข่แดง ตับสัตว์ ผักใบเขียว และผักสีเหลือ
วิตามินดี
ควรได้รับในปริมาณที่ปกติเท่ากับก่อนตั้งครรภ์
ไข่แดง ตับปลา
วิตามินบี 1
ควรได้รับเพิ่มอีก 0.3 มก.
เนื้อหมู ถั่วเมล็ดแห้ง
วิตามินบี2
ควรได้รับเพิ่มอีก 0.5 มก.
เนื้อสัตว์ ตับ ไข่ ถั่วต่างๆ ผักใบเขียว
วิตามินซี
เพิ่มอีกวันละ 35 มก.
ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว
โปรตีน
ควรได้รับโปรตีนเพิ่มขึ้น 25 กรัม/วัน
ปลา ถั่ว เต้าหู้ ไข่ นม
โฟเลท
โฟเลทวันละ 500 มคก
ตับ ผักใบเขียว บร็อคโครี่ มันเทศและขนมปังที่ท าจากข้าวสาลี
พลัง
ซึ่งต้องใช้พลังงานประมาณ 85
kcal ต่อน้ำนม 100 มล.
เพิ่มขึ้นวันละ 500 kcal
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน
น้ำ
วันละ 8-10 แก้ว
การหลั่งน้ านมมากขึ้น
ปัญหาโภชนาการในหญิงให้นมบุตร
ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารแสลง
งดกินไข่
งดกินผักใบเขียวที่มีกลิ่น
การอดของแสลง
แม่ที่อดของแสลงและกินข้าวกับเกลือขณะอยู่ไฟจะท าให้ขาดสารอาหาร
ความยากจน
นิสัยการบริโภคไม่ดี
ขาดความรู้ด้านโภชนาการ
แนวทางการบริโภคอาหารของหญิงให้นมบุตร
ประเภทของอาหาร
นมสดอย่างน้อยวันละ 2 แก้วหรือมากกว่า
ผักต่างๆ ทั้งชนิดใบเขียวและใบเหลืองนอย่างน้อย 6 ทัพพี
ผลไม้ ส้ม มะละกอสุก สับประรด ฝรั่ง กล้วย อย่างน้อยวันละ 6 ส่วน
ไข่ ควรกินวันละ 1 ฟอง
ไขมันหรือน้ำมันวันละ 3 ชต. น้ าตาลไม่เกินวันละ 5 ชช.
เนื้อสัตว์ต่างๆ
ข้าวและแป้งวันละ 9-10 ทัพพี
ข้อแนะนำเกี่ยวกับอาหารในหญิงให้นมบุตร
หลีกเลี่ยงการกินขนมหวานต่างๆ
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
ปรึกษาแพทย์ทุกครั้งก่อนรับประทานยา
กินอาหารครบ 5 หมู่
พักผ่อนให้เพียงพอ
โภชนาการสำหรับวัยทารก
โภชนาการของวัยทารก
เมื่ออายุ 4-5 เดือนควรมีน้ าหนักตัวเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของน้ าหนักแรกเกิด และเมื่ออายุ 1 ปี
น้ าหนักควรเพิ่มเป็น 3 เท่าของน้ าหนักแรกเกิด
ความต้องการสารอาหารในทารก
แรกเกิด-6 เดือนแรก ทารกได้พลังงานและสารอาหารจากนมแม่อย่างเดียว
หลังจาก 6 เดือนไปจนถึงขวบปีแรกทารกจะได้รับพลังงานและสารอาหารจากอาหารอื่นร่วมกับนม
แม่
พลังงาน
800 kcal
แคลเซียม
270 mg/วัน
โปรตีน
16 g/วัน
ไอโอดีน
90 mcg/วัน
ฟอสฟอรัส
275 mg/วัน
เหล็ก
9.3 mg/วัน
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่(Breast feeding)
ทำให้ทารกเจริญเติบโตอย่างเต็มที่
มีผลดีต่อจิตใจแม่และลูก
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ช่วยสร้างเสริมพัฒนาการทางสมองและสติปัญญา
มีคุณค่าทางโภชนาการ
ทำให้มดลูกของแม่เข้าอู่เร็ว
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ช่วยให้ประหยัด
ความพร้อมในการให้อาหารส าหรับทารก
น้ าย่อยต่างๆในกระเพาะอาหารข
ความพร้อมของไต
ความพร้อมของระบบทางเดินอาหาร
ความพร้อมของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ข้อแนะนำการให้อาหารสำหรับทารก
เริ่มให้อาหารทีละน้อยในระยะแรก เพื่อให้ทารกฝึกการใช้ลิ้น ริมฝีปาก และการกลืน
ก เริ่มจากอาหารเหลว กึ่งเหลว กึ่งแข็ง
อ่อนนิ่มและหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ
ให้อาหารที่มีคุณภาพและครบ 5 หมู่ทุกวัน
หลีกเลี่ยงการปรุงแต่งรส
เพิ่มจ านวนมื้ออาหารเมื่ออายุลูกเพิ่มขึ้น
อาหารต้องสะอาดและปลอดภัย
เริ่มให้อาหารเสริมเมื่ออายุครบ 6 เดือนเต็มควบคู่ไปกับนมแม่
ให้ดื่มน้ าสะอาด งดเครื่องดื่มรสหวานและน้ าอัดลม
ให้นมแม่อย่างเดียวตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 เดือน
เล่นกับลูกสร้างความผูกพัน
การแพ้อาหารในทารก
การแพ้โปรตีนในนมวัวมักเกิด
ในช่วงอายุ 1-4 เดือน จะมีอาการคัดจมูก อาเจียน ปวดท้อง มีผื่นขึ้นตามผิวหนัง
เด็กอายุต่ำกว่าอายุ 7 เดือน พบว่าแพ้ไข่ขาว“กลากน้ านม”
แพ้สารกลูเตนจะมีอาการท้องเสียเรื้อรัง
ถ้าแพ้นมผสม ถั่วลิสง ช็อกโกแลต หรืออาหารทะเล จะมีอาการ ผื่นคันที่แก้ม หลังหู และตาม
ข้อพับ
การเลือกอาหารสำหรับทารก
ให้นมแม่ต่อเนื่องถึงอายุ 2 ปี
ควรเสริมด้วยนมดัดแปลงสูตรต่อเนื่องหรือ
นมวัวรสจืด วันละ 2 แก้ว
ใช้น้ ามันพืชในการประกอบอาหาร
กินเนื้อสัตว์ทุกวัน
หมู ไก่ ปลาและตับ
ให้กินอาหารรสธรรมชาติ ไม่ปรุงแต่งรสอาหาร
กินผักผลไม้ทุกวันและกินให้หลากหลายชนิด
าลึง ผักบุ้ง
ผักกาดขาว ฟักทอง แครอท เป็นต้น ผลไม้ที่ไม่หวานจัด เช่น กล้วยน้ าว้า มะละกอสุก ส้ม
หลีกเลี่ยงขนม
ที่มีรสหวานจัด มันจัดเค็มจัด และขนมที่เหนียวติดฟัน
ให้ทารกได้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและหลากหลาย
ข้าว เนื้อสัตว์ ปลา ตับ ไข่ ผักและผลไม้เป็น
อาหารที่ให้สำหรับทารกใน 1 วัน
อายุ 7 เดือน
นมแม่และอาหาร 1 มื้อ มีผลไม้เป็นอาหารว่าง
อายุ 8-9 เดือน
นมแม่และอาหาร 2 มื้อ มีผลไม้เป็นอาหารว่าง
อายุ 6 เดือน
นมแม่และอาหาร 1 มื้อ มีผลไม้เป็นอาหารว่าง
อายุ 10-12 เดือน
นมแม่และอาหาร 3 มื้อ มีผลไม้เป็นอาหารว่าง
นมสำหรับทารก
นมผงดัดแปลงสูตรต่อเนื่องส าหรับทารกและเด็กเล็ก(นมผงสูตร2)
นมผงดัดแปลงสูตร 3 และสูตร 4 (นมผงครบส่วน) /whole cow’s milk
นมผงดัดแปลงส าหรับทารก (นมผงสูตร1)
โภชนาการสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
โภชนาการของเด็กวัยก่อนเรียน
เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองช้ากว่าในวัยทารก
เด็กวัยนี้เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร
ความต้องการสารอาหารของเด็กวัยก่อนเรียน
พลังงานและสารอาหาร กลุ่มอายุ พลังงานและสารอาหาร ก
วิตามินเอ (ไมโครกรัม) 400 ,450
สังกะสี (มิลลิกรัม) 2, 3
เหล็ก (มิลลิกรัม) 5.8 ,6.3
วิตามินซี (มิลลิกรัม) 40, 40
ไอโอดีน (ไมโครกรัม) 90, 90
วิตามินบี 1 (มิลลิกรัม) 0.5 ,0.6
แคลเซียม (มิลลิกรัม) 500 ,800
วิตามินบี 2 (มิลลิกรัม) 0.5, 0.6
โฟเลท (ไมโครกรัม) 150, 200
วิตามินบี 6 (มิลลิกรัม) 0.5, 0.6
โปรตีน (กรัม) 19 ,25
วิตามินบี 12 (ไมโครกรัม) 0.9, 1.2
พลังงาน (กิโลแคลอรี่ ) 1,000, 1,300
การสร้างนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีแก่เด็กก่อนวัยเรียน
ให้เด็กลองรับประทานอาหารใหม่ๆ ค
ไม่ควรให้รางวัลจูงใจ
ควรหัดให้เด็กรับประทานอาหารทุกชนิด
หาเทคนิคหรือวิธีการจูงใจให้เด็กรับประทานอาหาร
เด็กวัยนี้ต้องการอาหารเช่นเดียวกับผู้ใหญ่ แต่ควรเพิ่มปริมาณสารอาหารให้มากกว่าเดิม
จัดอาหารใหน้ า่ รบั ประทาน
ลักษณะและรสชาติต้องจืดอร่อยไ
ควรฝึกให้รับประทานอาหารหลักวันละ 3 มื้อ ให้มีอาหารว่างระหว่างมื้อเช้าและบ่าย
สร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ดีมีผลต่อการรับประทานอาหาร
จัดอาหารให้เพียงพอ
เปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการเตรียมโต๊ะอาหาร
พ่อแม่ควรเป็นแบบอย่างที่ดี
กลุ่มอาหารและปริมาณอาหารที่ควรบริโภคใน 1 วัน สำหรับเด็กอายุ 1-5 ปี
ผลไม้ 3 ส่วน 3 ส่วน
เนื้อสัตว์ 3 ช้อนกินข้าว 3 ช้อนกินข้าว
ผัก 2 ทัพพี 3 ทัพพี
นม 2 แก้ว 2-3 แก้ว
กลุ่มอาหารและปริมาณอาหารที่ควรบริโภคใน 1 วัน สำหรับเด็กอายุ 1-5 ปี
น้ าตาล น้อยกว่า 2 ช้อนชา น้อยกว่า 3 ช้อนชา
ตัวอย่างรายการอาหารสำหรับเด็กวัยก่อนเรียน ใน 1 วัน
อาหารกลางวัน
ข้าวผัดปูใส่ไข่ 1 จาน
แกงจืดมักกะโรนีกุ้ง 1 ถ้วย
เต้าส่วน
กล้วยน้ าว้า 1 ผล
อาหารเย็น
แกงจืดผักกาดขาวหมูสับ 1 ถ้วย
ผัดเปรี้ยวหวานปลา 1 จาน
ส้ม 2 ผล
ข้าวสวย 1 ถ้วยตวง
นมสด 1 แก้ว
อาหารเช้า
มะละกอสุก 1 ชิ้น
นมสด 1 แก้ว
ไข่เจียว 1 ฟอง
แกงจืดต าลึงหมูสับ 1 ถ้วยตวง
ข้าวสุก 1 ถ้วยตวง
โภชนาการสำหรับเด็กวัยเรียน
โภชนาการเด็กวัยเรียน
เพศหญิง เริ่มเข้าสู่วัยแรกรุ่น เมื่ออายุ 10 ปี เร็วกว่าเพศชายประมาณ 2 ปี
การเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ สมองและระบบประสาทจะไม่มีการเจริญเติบโตเพิ่มขนาด
เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากเด็กก่อนวัยเรียน
พฤติกรรมการกินที่เป็นปัญหาของเด็กวัยนี้
ข้อปฏิบัติในการจัดอาหารเด็กวัยเรียน
ควรให้เด็กเป็นผู้เสนอรายการอาหารบ้าง เพื่อให้รู้สึกถึงการมีส่วนร่วม
ฝึกวินัยในการรับประทานอาหารให้เป็นเวลา ไม่รับประทานอาหารจุบจิบ
จัดอาหารให้ครบ 5 หมู่
ฝึกให้เด็กรู้จักความพอดีในการรับประทานอาหารแต่ละประเภท
ควรมีอาหารส ารองไว้บ้าง
อาหารส าหรับเด็กวัยเรียน 6-8 ปี (1,400 kcal)
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 3 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
เนื้อสัตว์ ,สุก 3ส่วน, 90,6 ช้อนกินข้าว
ไขมัน 4 ,ส่วน20, 4 ช้อนชา
ข้าว 6ส่วน ,330 ,6 ทัพพี
น้ าตาล 10 กรัม 10 ,2 ช้อนชา
นมธรรมดา 2,ส่วน 480 มล., 2 กล่อง
ตัวอย่างรายการอาหารส าหรับเด็กวัยเรียน 6-8 ปี (1,400 kcal)
อาหารเย็น
ข้าวสวย 2 ทัพพี
หมูทอด 1 1/2 ช้อนกินข้าว (แตงกวา, มะเขือเทศ)
ซุปไก่
ไก่ฉีก 1/2 ช้อนกินข้าว
แครอท มันเทศ ขึ้นฉ่าย มะเขือเทศ
ส้มเขียวหวาน 1 ผลกลาง
นมสด 1 แก้ว(240 มล.)
อาหารกลางวัน
บะหมี่น้ าหมูแดง
บะหมี่ 1 ก้อน(75 กรัม)
หมูแดง 2 ช้อนกินข้าว
กระเทียมเจียว 1 ช้อนชา
ผักกวางตุ้ง
มะละกอสุก 4 ชิ้นค า
อาหารว่างบ่าย
แอบเปิ้ล 1 ผลเล็ก
อาหารเช้า
ข้าวต้มกุ้ง
ข้าวต้ม 2 ทัพพี
กุ้ง 5-6 ตัว
ผักชี,ต้นหอม
กล้วยน้ าว้า 1 ผล
นมสด 1 กล่อง (240 มล.)
ขนมปังเนย-น้ าตาล
ขนมปัง 1 แผ่น
เนย 1/2 ก้อนเล็ก
น้ าตาล 1 ช้อนชา
อาหารสำหรับเด็กวัยเรียนชาย 9-12 ปี (1,700 kcal)
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 4 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
เนื้อสัตว์ ,สุก 4 ส่วน120 8 ช้อนกินข้าว
ไขมัน 6 ส่วน30 6 ช้อนชา
ข้าว 8ส่วน 440 8 ทัพพี
น้ าตาล 20 กรัม 20, 4 ช้อนชา
นมธรรมดา 1 ส่วน240 มล. 1 กล่อง
อาหารสำหรับเด็กวัยเรียนหญิง 9-12 ปี (1,600 kcal)
น้ าตาล 20 กรัม 20 4 ช้อนชา
ไขมัน 4ส่วน 20 4 ช้อนชา
ผลไม้ 4 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
เนื้อสัตว์ ,สุก 4ส่วน120 8 ช้อนกินข้าว
ข้าว 8ส่วน440 8 ทัพพี
นมธรรมดา 1 ส่วน240 มล. 1 กล่อง
โภชนาการสำหรับวัยรุ่น
โภชนาการสำหรับวัยรุ่น
• ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายอย่าง ต่อมไร้ท่อต่างๆ ทำงานมากขึ้น
• วัยรุ่นจะรู้สึกหิวบ่อยและรับประทานอาหารมากขึ้น
• วัยรุ่นชายจะรับประทานอาหารมากกว่าวัยรุ่นหญิง
ความต้องการสารอาหารของวัยรุ่น
โปรีตีน
ปัจจุบันมีการก าหนดความต้องการโปรตีนตามความสูงของวัยรุ่น
ชาย อายุ 11-14, 15-18, 19-24 ปี ต้องการโปรตีน 0.29, 0.34, 0.33
ต่อความสูง 1 ซม. ตามล าดับ
หญิง อายุ 11-14, 15-18, 19-24 ปี ต้องการโปรตีน 0.29, 0.27,
0.28 ต่อความสูง 1 ซม. ตามล าดับ
ควรได้รับโปรตีนอย่างน้อยวันละ 1-2 กรัมต่อน้ าหนักตัว 1 กก.
วิตามินและเกลือแร่
แคลเซียมและฟอสฟอรัส
เหล็ก
ไอโอดีน
วิตามินเอ
วิตามินบี 2
วิตามินซี
น้ า ต้องการ 6-8 แก้วต่อวัน
พลังงาน
วัยรุ่นชายควรได้รับพลังงาน 2,300-2,400 kcal/วัน
วัยรุ่นหญิงควรได้รับพลังงาน 1,850-2,000 kcal/วัน
พลังงานและปริมาณสารอาหารที่อ้างอิงที่ควรได้รับประจ าวันของวัยรุ่น
โปรตีน(กรัม) 453
แคลเซียม(มิลลิกรัม) 1,000
พลังงาน(กิโลแคลอรี /วัน) 1,850
ฟอสฟอรัส(มิลลิกรัม) 1,000
เหล็ก(มิลลิกรัม) 26.5
ไอโอดีน(ไมโครกรัม) 150
วิตามินเอ(ไมโครกรัม) 600
ิตามินดี (ไมโครกรัม) 5
วิตามินซี (มิลลิกรัม) 75
วิตามินบี 2(มิลลิกรัม) 1.0
วิตามินบี 6(มิลลิกรัม) 1.2
วิตามินบี 12(ไมโครกรัม) 2.4
สังกะสี (มิลลิกรัม) 7
แนวทางการบริโภคอาหารของวัยรุ่นชายใน 1 วัน(2,300 kcal)
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 6 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
เนื้อสัตว์ ,สุก 6 180 12 ช้อนกินข้าว
ไขมัน 8 40 8 ช้อนชา
ข้าว 11 605 11 ทัพพี
น้ าตาล 30 กรัม 30 6 ช้อนชา
นมพร่องมันเนย 1 240 มล. 1 กล่อง
ตัวอย่างรายการอาหารสำหรับวัยรุ่นชาย 13-15 ปี (2,300 kcal)
อาหารกลางวัน
บะหมี่หมูแดง
บะหมี่ 2 ก้อน
✓ หมูแดง 4 ช้อนกินข้าว
✓ กระเทียมเจียว 1 ช้อนชา
✓ ผักกวางตุ้ง ต้นหอม ผักชี
อาหารว่างบ่าย
นม 1 แก้ว
• ขนมปังแครกเกอร์ 4 แผ่น
• ส้มโอ 2 กลีบ
อาหารเช้า
น้ าส้มคั้น 1 แก้ว(ส้ม 6 ผล)
ฝรั่ง 1/2 ผล
ขนมปัง ไข่ดาว-แฮม
✓ ไข่ดาว 1 ฟอง
✓ แฮม 2 แผ่น
✓ เนย 2 ก้อนเล็ก
อาหารเย็น
แกงส้มกุ้ง
กุ้ง 4-5 ตัว
✓ ผักต่างๆ
ปลาทอด 2 ช้อนกินข้าว
ข้าวสวย 4 ทัพพี
แอปเปิ้ล 1 ผลเล็ก
แนวทางการบริโภคอาหารของวัยรุ่นหญิงใน 1 วัน(1,850 kcal)
อาหารกลางวัน
ผัดคะน้าหมู
ต้มย าทะเลน้ าใส
ข้าวสวย 3 ทัพพี
น้ าแตงโมปั่น 1 แก้ว
อาหารเย็น
ข้าวสวย 3 ทัพพี
ต้มข่าไก่
ปลานงจมแจว
ฝรั่ง 1/2 ผลกลาง ส้มโอ 2 กลีบ
อาหารเชา
ส้มเขียวหวาน 2 ผล
นมพร่องมันเนย 1 กล่อง
(240 มิลลิลิตร)
ก๋วยจั๊บ
เส้นก๋วยจั๊บ 2 ทัพพี
✓ หมู ตับ เลือดหมู 2 ช้อนกินข้าว
✓ กระเทียมเจียว 1 ช้อนชา
✓ ต้นหอม ผักชี
ความสำคัญของอาหารในเด็กวัยรุ่น
กินอาหารให้ครบ 3 มื้อ
เด็กวัยรุ่นที่ต้องการควบคุมน้ าหนัก
กินอาหารให้ครบ 5 หมู่
โภชนาการสำหรับผู้ใหญ่
โภชนาการในวัยผู้ใหญ่
มื่ออายุมากขึ้นการท างานของเซลล์ต่างๆเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง
ผู้ใหญ่ที่มีภาวะโภชนาการดี สามารถท าให้อายุขัยยืนยาว มีชีวิตที่มีคุณภาพ
วัยนี้ร่างกายจะไม่มีการเสริมสร้างเพื่อการเจริญเติบโต แต่ยังมีการเสริมสร้างเซลล์ต่างๆ
เมื่ออายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไปจะมีปัญหาเรื่องน้ าหนักเกิน
ความต้องการสารอาหารในวัยผู้ใหญ่
โปรตีน
ควรได้รับโปรตีนวันละ 1 กรัม
ต่อน้ าหนักตัว 1 กก
วิตามินและเกลือแร่
ผู้ชายต้องการเหล็กลดลงเหลือ 10.4 ในขณะที่ผู้หญิงต้องการเท่าเดิมจนกว่าจะถึงวัยหมด
ประจ าเดือน
น้ าต้องการประมาณ 1,500-2,000 มล.ต่อวัน
วัยนี้มีความต้องการพอๆ กับวัยรุ่น
พลังงาน
ผู้ชายต้องการพลังงานมากกว่าผู้หญิงเพราะในผู้หญิงมีน้ าหนักตัวน้อยกว่าและท ากิจกรรม
น้อยกว่าผู้ชาย
พลังงานทั้งหมดควรมาจากคาร์โบไฮเดรตร้อยละ 55 โปรตีนร้อยละ 15 และไขมันร้อยละ
30
พลังงานและสารอาหารที่อ้างอิงที่ควรได้รับประจ าวันของวัยผู้ใหญ่
วิตามินเอ(ไมโครกรัม) 700
วิตามินดี (ไมโครกรัม) 5
ไอโอดีน(ไมโครกรัม) 150
วิตามินซี (มิลลิกรัม) 90
เหล็ก(มิลลิกรัม) 10.4
วิตามินบี 2(มิลลิกรัม) 1.3
ฟอสฟอรัส(มิลลิกรัม) 700
วิตามินบี 6(มิลลิกรัม) 1.3
แคลเซียม(มิลลิกรัม) 800
วิตามินบี 12(ไมโครกรัม) 2.4
โปรตีน(กรัม) 57
สังกะสี (มิลลิกรัม) 13
พลังงาน(กิโลแคลอรี /วัน) 2,150
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้ใหญ่
นมพร่องมันเนย 1 240 มล. 1 กล่อง
ข้าว 12 660 12 ทัพพี
เนื้อสัตว์ ,สุก 5 150 10 ช้อนกินข้าว
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 4 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
ไขมัน 8 40 8 ช้อนชา
น้ าตาล 25 กรัม 25 5 ช้อนชา
ตัวอย่างรายการอาหารสำหรับผู้ใหญ่ (2,000 kcal)
อาหารกลางวัน
กล้วยหอม 1 ผล
ขนมซ่าหริ่ม 1 ถ้วย
ผัดเซียงไฮ้ทะเล 1 จาน
อาหารเย็น
ผัดผักรวม 1 จาน
ส้มโอ 2 กลีบ
ต้มย าปลากะพง 1 ถ้วย
นมพร่องมันเนย 1 ถ้วยตวง
ข้าวสวย 1 จาน
อาหารเช้า
ต้มจืดเลือดหมูตำลึง
ต้มจืดเลือดหมูตำลึง
ข้าวสวย 1 1/2 ถ้วยตวง
ชมพู่ 2 ผล
วัยทอง(Golden period)
วัยทอง หมายถึงวัยหมดประจ าเดือน (Menopausal period)
มีการเปลี่ยนแปลงของระบบ
อาหารของสตรีวัยทอง
แอลกอฮอล์ จะไปกดประสาทส่วนกลาง ท าให้เหนื่อยล้า และซึมเศร้า
น้ าตาลจะไปลดการกักเก็บวิตามินบีคอมเพล็กซ์
ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีคาเฟอีน
เนื้อสัตว์ติดมันท าให้อ้วน เครื่องในสัตว์ท าให้เกิดโรคข้ออักเสบ
เมล็ดธัญพืชทั้งเปลือก
อาหารที่มีเกลือ และอาหารที่มีโซเดียมสูง
ถั่วเป็นแหล่งโปรตีน แคลเซียม แมกนีเซียม โปตัสเซียม วิตามินบีคอมเพล็กซ์ สังกะสีและเหล็ก
ถั่วเหลืองมีไฟโตเอสโตรเจน(phytoestrogen) ช่วยบรรเทาอาการช่องคลอด
แห้งและโรคกระดูกพรุนได้
ควรรับประทานอาหารประเภทถั่วต่างๆ
โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ
กระบวนการแก่(Aging process)
เป็นกระบวนการเกิดขึ้นที่ปกติ
ขีดสุดแล้วปะสิทธิภาพการท าหน้าที่ของอวัยวะต่างๆลดลงหรือสูญเสียหน้าที่ไป
เกิดขึ้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์จนกระทั่งตาย
การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง
การท างานของระบบไหลเวียนและไตลดลง
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและล าไส้ลดลง
เนื้อเยื่อที่ปราศไขมันลดลง
ภาวะสุขภาพปากและฟัน ผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะมีปัญหาฟันผุหรือไม่มีฟัน
เนื้อกระดูกลดลงเมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป
การทำงานของประสาทสัมผัสทั้ง 5 ลดลง
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและจิตสังคม
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
วิตามินเค
วิตามินซี
วิตามินอี
วิตามินบี 6
วิตามินดี
วิตามินบี 12
วิตามินเอ
โฟเลต
คาร์โบไฮเดรต
มีโอกาสเกิดภาวะน้ าตาลในเลือดสูงและโรคเบาหวาน
ร่างกายตอบสนองต่ออินซูลินดีขึ้น
ผู้สูงอายุจะมีเอนไซม์ แลคเตสลดลง ท าให้มีโอกาสเกิดภาวะท้องอืด
ควรได้รับร้อยละ 55 ของพลังงานทั้งหมด
แคลเซียม
ไขมัน
ุควรลดปริมาณไขมัน
ไขมันมีหน้าที่ขนส่งวิตามินที่ละลายในไขมัน
ไขมันเป็นแหล่งอาหารที่ให้พลังงานสูง
การย่อยไขมันในผู้สูงอายุจะลดลง
ไม่ควรเกินร้อยละ 30 ของพลังงานทั้งหมด
เหล็ก
โปรตีน
สร้างและคงสภาพของเนื้อเยื่อในร่างกาย
ผู้สูงอายุควรได้รับโปรตีน 1 กรัมต่อน้ าหนักตัว 1 กก.ต่อวัน
ความต้องการโปรตีนจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อถ้าร่างกายมีความเครียด
ผู้สูงอายุควรดื่มนมวันละ 1 แก้ว รับประทานไข่อาทิตย์ละ 3 ฟอง
สังกะสี
พลังงาน
ชาย หญิงได้รับพลังงานจากอาหารไม่เกินวันละ 2,250 และ 1,850 kcal หรือ 30
kcal/kg
ให้พลังงานน้อยกว่า 1,800 kcal/วัน
ู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานน้อยกว่าวัยหนุ่มสาว
แนวทางการบริโภคอาหารส าหรับผู้สูงอายุชาย(60-70 ปี ) 2,100kcal
นมพร่องมันเนย 1 240 มล. 1 กล่อง
ข้าว 11 605 11 ทัพพี
เนื้อสัตว์ ,สุก 5 150 10 ช้อนกินข้าว
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 5 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
ไขมัน 8 40 8 ช้อนชา
น้ าตาล 20 กรัม 20 4 ช้อนชา
แนวทางการบริโภคอาหารส าหรับผู้สูงอายุชาย (60-70 ปี) 2,100kcal
ข้าว 11ส่วน 605 11 ทัพพี
เนื้อสัตว์ ,สุก 6ส่วน 180 12 ช้อนกินข้าว
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 5 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
ไขมัน 8 ส่วน40 8 ช้อนชา
น้ าตาล 20 กรัม 20 4 ช้อนชา
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุชาย(71 ปี) 1,750kcal
นมพร่องมันเนย 1 240 มล. 1 กล่อง
ข้าว 9 495 9 ทัพพี
เนื้อสัตว์ ,สุก 4 120 8 ช้อนกินข้าว
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 4 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
ไขมัน 6 30 6 ช้อนชา
น้ าตาล 20 กรัม 20 4 ช้อนชา
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุชาย (71 ปี) 1,750kcal
ข้าว 9 495 9 ทัพพี
เนื้อสัตว์ ,สุก 5 150 10 ช้อนกินข้าว
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 4 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
ไขมัน 6 30 6 ช้อนชา
น้ าตาล 20 กรัม 20 4 ช้อนชา
แนวทางการบริโภคอาหารส าหรับผู้สูงอายุหญิง(60-70 ปี) 1,750kcal
นมพร่องมันเนย 1 240 มล. 1 กล่อง
ข้าว 9 495 9 ทัพพี
เนื้อสัตว์ ,สุก 4 120 8 ช้อนกินข้าว
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 4 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
ไขมัน 6 30 6 ช้อนชา
น้ าตาล 20 กรัม 20 4 ช้อนชา
แนวทางการบริโภคอาหารส าหรับผู้สูงอายุหญิง(60-70 ปี) 1,750kcal
ข้าว 9 495 9 ทัพพี
เนื้อสัตว์ ,สุก 5 150 10 ช้อนกินข้าว
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 4 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
ไขมัน 6 30 6 ช้อนชา
น้ าตาล 20 กรัม 20 4 ช้อนชา
แนวทางการบริโภคอาหารส าหรับผู้สูงอายุหญิง(71 ปี) 1,550kcal
นมพร่องมันเนย 1 240 มล. 1 กล่อง
ข้าว 9 495 9 ทัพพี
เนื้อสัตว์ ,สุก 4 120 8 ช้อนกินข้าว
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 3 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
ไขมัน 6 30 6 ช้อนชา
น้ าตาล 15 กรัม 15 3 ช้อนชา
แนวทางการบริโภคอาหารส าหรับผู้สูงอายุหญิง(71 ปี) 1,550kcal
ข้าว 10 550 10 ทัพพี
เนื้อสัตว์ ,สุก 4 150 8 ช้อนกินข้าว
ผัก รับประทานได้ตามความต้องการ
ผลไม้ 2 แล้วแต่ชนิดของผลไม้
ไขมัน 6 30 6 ช้อนชา
น้ าตาล 15 กรัม 15 3 ช้อนชา