Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแบ่งปันข้อมูล, นางสาววริศรา สระเนตร - Coggle Diagram
การแบ่งปันข้อมูล
1.1องค์ประกอบและรูปแบบพื้นฐานในการสื่อสาร
1.ผู้ส่ง ในที่นี้คือผู้ที่มีสารหรือเนื้อหาข้อมูลและมีความต้องการที่จะส่งสารไปยังผู้รับ โดยผู้ส่งจะต้องคำนึงถึงจุดประสงค์ของการส่งสารและความสามารถในการรับสารของผู้รับ
2.สาร เป็นข้อมูลหรือสิ่งที่ผู้ส่งต้องการให้ผู้รับได้รับรู้โดยสารนั้นอาจมีได้หลายรูปแบบเช่น เสียงพูด ข้อความ หรือภาพ
3.ช่องทาง เป็นวิธีการในการส่งสารจากผู้ส่งไปยังผู้รับ เช่นการใช้โทรศัพท์
4.ผู้รับ มีหน้าแปลความหมายของสารที่ผู้ส่งนำเสนอ ซึ่งความสามารถในการแปลจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างเช่น การศึกษา วุฒิภาวะ
1.3ข้อควรระวังในการแบ่งปันข้อมูล
2.ข้อมูลบางชนิดไม่ควรเปิดเผย คือ ข้อมูลด้านสุขภาพ ด้านการเงิน หรือหมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน เป็นข้อมูลที่ต้องระวัง เพราะเป็นข้อมูลผู้ที่ไม่ประสงค์ดีสามารถนำไปใช้แสวงหาผลประโยชน์ได้
3.ข้อมูลบางชนิดอาจถูกนำมาใช้หลอกลวง คือ ข้อมูลบางชนิดอาจดูไม่น่าจะเป็นอันตรายในการแบ่งปัน เช่นวันเกิด ตำแหน่งหน้าที่การงาน การศึกษา ชื่อเพื่อน หรือแม้กระทั่งสีที่ชอบ
1.ไม่มีความลับในสังคมออนไลน์ คือแม้ในขณะที่แบ่งปันข้อมูล เป็นการแบ่งปันข้อมูลเฉพาะกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มที่คิดว่าไว้ใจได้แต่ข้อมูลดิจิทัลนั้นเป็นข้อมูลที่ซ้ำได้ง่าย
4.การรักษาข้อมูลที่ได้รับการปกป้องตามกฏหมาย คือ ข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์หรือข้อมูลส่วนตัว เช่น ผลงานเพลง ประวัติคนไข้ หรือหมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน
1.2เทคนิคและวิธีการแบ่งปันข้อมูล
1.สื่อสารโดยตรง เช่น การพูดคุยต่อหน้าหรือทางโทรศัพท์ การรรายงานหน้าห้อง เป็นช่องทางที่ผู้ส่งสามารถสังเกตและรับรู้ปฏิกิริยาของผู้รับได้โดยตรง
2.สท่อมวลชน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เป็นสื่อที่เน้นการสื่อสารทางเดียว แต่สามารถกระจายสารไปยังคนหมู่มากได้
3.สื่อสังคม เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ หรือเว็บบอร์ด โดยสื่อสังคมจะเป็นช่องทางสื่อสารที่มีการโต้ตอบค่อนข้างสูง ทำให็ผู้ส่งมีโอกาสอธิบายเพิ่มเติมหรือแก้ไขปรับปรุงรูปแบบสารได้อย่างเหมาะสม
1.2.1 การเขียนบล็อค คำว่าบล็อค มาจากคำว่า เว็บ-ล็อก ซึ่งเป็นการเขียนบทความอธิบายหรือให้ข้อมูลเพื่อนำไปเผยแพร่บนเว็บไซต์
ขั้นตอนการเขียนบล็อก
1.การวางแผน ไม่ว่าผูเเขียนบล็อกจะเชี่ยวชาญเพียงใด การเขียนบทความหนึ่งบทความ ไม่ได้ใช้เวลาเพีบง 1-2 ชั่วโมงเท่านั้น ด้วยเหตุนี้การวางแผนจึงควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1.1 กำหนดเรื่องที่จะเขียน คือ ผู้เขียนควรเขียนเรื่องที่ตนเองสนใจเเพราะถ้าผู้เขียนไม่มีความสนใจในเรื่องที่จะเขียนแล้วความไม่น่าสนใจจะถูกถ่ายทอดลงไปยังบทึวามที่เขียนและส่งต่อไปยังผู้อ่านได้
1.2วางเค้าโครงเรื่อง คือ ก่อนที่จะเริ่มเขียนบทความใดๆ ผู้เขียนควรวางเค้าโดรงเรื่องเพื่อให้แน่ใจว่า บทความที่จะเขียนมีเนื้อหาที่ครอบคลุม ครบถ้วน สมบูรณ์ และเข้าใจง่าย
3.ตรวจสอบข้อมูล คือ ข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้า หรือจากประสบการณ์ตรงของผู้เขียนอาจไม่ใช่สิ่งที่ถูกต้องเสมอไป
4.การเขียนคำโปรย คือ คำโปรยเป็นประโยคสั้นๆมี่สรุปและเชิญให้ผู้อ่านเข้าไปอ่านเนื้อหาโดยละเอียด
5.การเขียน คือ หลังจากที่ได้รวบรวมข้อมูลและตรวจสอบความถูกต้อง วางโครงเรื่อง เขียนคำโปรย และได้ชื่อเรื่อง ขั้นตอนต่อไปอาจเขียนคราวเดียวจบ หรืออาจจะแบ่งเป็นส่วนๆแล้วค่อยๆเขียนไปทีละส่วน
6.การใช้ภาพประกอบ คือ ถ้าบทความในบล็อกไม่มีภาพประกอบผู้อ่านส่วนใหญ่อาจให้ความสนใจไปรับข้อมูลจากสื่ออื่น เช่น เฟสบุ๊ก หรือยูทูป
7.การตรวจทานแก้ไข คอ การตรวจทานเพื่อแก้ไขตัวสะกดและไวยากรณ์แล้ว ผู้เขียนควรตรวจทานว่ามีการเขียนประเด็นที่ซ้ำกันหรือไม่
1.2.2 การทำแฟ้มผลงาน คือ เป็นเอกสารในการรวบรวมหลักฐานที่แสดงถึงความสามารถและผลงานของบุคคลเพื่อใช้ในการนำเสนอประกอบการพิจารณาการประเมินการทำงาน
2.จัดหมวดหมู่ คือ สามารถทำได้หลายลักษณะ เช่น จัดผลงานเป็นกลู่มของการเรียน กีฬา ดนตรี และคุณธรรมจริยธรรม
3.คัดเลือกผลงาน คือ คัดเลือกผลงานที่ดีที่สุดไม่เกิน 3ชิ้น ต่อหนึ่งหมวดหมู่
1.รวบรวมผลงาน คือ ผลงานในที่นี้เป็นชิ้นงานหรือผลงานที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น ซึ่งบ่งบอกถึงความสามารถของเจ้าของผลงาน เช่น ภาพวาด
4.จัดลำดับความน่าสนใจของผลงานและประเมินตนเอง คือ หลังคัดเลือกผลงานจะเห็นภาพได้ชัดว่าเรามีผลงานเด่นด้านใด หรือยังขาดผลงานในด้านใด และประเมินได้ว่าเราควรยื่นแฟ้มสะสมผลงานเพื่อเข้าศึกษาต่อในสาขาใดหรือทำงานที่ใด
5.ลำดับและร้อยเรียงเรื่องราวให้น่าสนใจ คือคสรคำนึงว่าผู้ประเมินต้องการเห็นอะไรในแฟ้มสะสมผลงาน เช่น หากต้องการเข้าเรียนสาขานั้น ควรเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับสาขานั้น
6.ตรวจทาน คือ ตรวจทานตัวสะกดและความถูกต้องแล้วควรแบ่งการตรวจทานเป็น 2ส่วน โดยส่วนแรกตรวจทานว่าแฟ้มผลงานตรงกับตัวตนของเราและความต้องการของผู้อ่านหรือไม่ ส่วนที่สอง ให้ผู้อื่นช่วยตรวจทานเรื่องราว การดำเนินเรื่อง ว่าเป็นที่น่าประทับใจหรือไม่
2.ค้นคว้า คือ ผู้เขียนบทความหลายคน อาจไม่มีความรู้หรือประสบการณืในเนื้อหาที่จะเขียน แต่การค้นคว้าหาข้อมูลในสิ่งที่สนใจสามารถทำได้ง่ายและสะดวกในยุคดิจิทัล
นางสาววริศรา สระเนตร