Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแบ่งปันข้อมูล, นางสาวสกุลทิพย์ เทพสุทา เลขที่25 ม.6/1 - Coggle Diagram
การแบ่งปันข้อมูล
1.3 ข้อควรระมัดระวังในการแบ่งปันข้อมูล
1.ไม่มีความลับในสังคมออนไลน์
2.ข้อมูลบางชนิดไม่ควรเปิดเผย
3.ข้อมูลบางชนิดอาจถูกนำมาใช้หลอกลวง
4.การรักษาข้อมูลที่ได้รับการปกป้องตามกฎหมาย
1.1องค์ประกอบและรูปแบบพื้นฐานในการสื่อสาร
ช่องทาง เป็นวิธีการในการส่งสารจากผู้ส่งไปยังผู้รับ เช่น การใช้โทรศัพท์ การสื่อสารผ่านสื่อสังคมหรือแม้กระทั่งการพูดคุยกับผู้รับโดยตรง
1.ผู้ส่ง ในที่นี้คือผู้ที่มีสารหรือเนื้อหาข้อมูลและมีความต้องการที่จะส่งสารไปยังผู้รับโดยผู้ส่งต้องคำนึงถึงจุดประสงค์ของการส่งสารและความสามารถในการรับสารของผู้รับ :
ผู้รับ มีหน้าที่แปลความหมายของสารที่ผู้ส่งนำเสนอ ซึ่งความสามารถในการแปลจะขึ่นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น การศึกษา วุฒิภาวะ พื้นฐานทททางสังคม
สาร เป็นข้อมูลหรือสิ่งที่ผู้ส่งต้องการให้ผู้รับได้รับรู้โดยสารนั้นอาจมีหลายรูปแบบ เช่น เสียงพูด ข้อความ หรือภาพ
1.2 เทคนิคและวิธีการแบ่งปันข้อมูล
สื่อมวลชน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เป็นสื่อที่เน้นการสื่อสารทางเดียวแต่สามารถกระจายสารไปยังคนหมู่มากได้
สื่อสังคม เช่น เฟชบุ๊ก ทวิตเตอร์หรือเว็บบอร์ด โดยสื่อสังคมจะเป็นช่องทางสื่อสารที่มีการโต้ตอบค่อนข้างสูงทำให้ผู้ส่งมีโอกาสอธิบายเพิ่มเติม
การสื่อสารโดยตรง เช่น การพูดคุยต่อหน้าหรือทางโทรศัพท์ การรายงานหน้าห้อง เป็นช่องทางที่ผุ้ส่งสามารถสังเกตและรับรู้ปฏิกิริยาช่องผู้รับได้โดยตรง
1.2.1 การเขียนบล็อก
การตรวจสอบข้อมูล ข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าหรือจากประสบการณ์ตรงขงผู้เขียนอาจไม่ใช่สิ่งที่ถุกต้องเสมอไป และหากเผยแพร่ข้อมูลที่ผิดพลาดเพียงครั้งเดียว อาจส่งผลต่อความน่าเชื่อถือของผู้เขียน
การวางแผน
1.1 กำหนดเรื่องที่จะเขียน
1.2 วางเค้าโครง
ค้นคว้า ผู้เขียนบทความหลายคน อาจไม่มีความรู้หรือประสบการณ์ในเนื้อหาที่จะเขียนแต่การค้นคว้าหข้อมูลในสิ่งที่สนใจสามารถทำได้ง่ายและสะดวกในยุคดิจิทัล
การเขียนคำโปรย คำโปรยเป็นประโยคส้นๆที่สรุปและเชื้อเชิญให้ผู้อ่านเข้าไปอ่านเนื้อหาโดยละเอียด
การเขียน หลังจากที่ได้รวบรวมข้อมูลและตรวจสอบความถูกต้อง วางโครงเรื่อง เขียนคำโปรย และได้ชื่อเรื่องที่สื่อถึงเนื้อหาที่เขียนแล้วขั้นตอนต่อไปจะเป็นบทความ
การใช้ภาพประกอบ การใช้ภาพประกอบช่วยลดความรู้สึกอึดอัดในการมองเห็นเฉพาะตัวหนังสือและการใช้ภาพประกอบจะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจการดำเนินเรื่องของบทความ
การตรวจทานแก้ไข ขั้นตอนนี้นอกจากจะตรวจทานเพื่อแก้ไขตัวสะกดและไวยากรณ์แล้วผู้เขียนควรตรวจทานว่ามรการเขียนประเด็นที่ซ้ำกันหรือไม่
1.2.2 การทำแฟ้มผลงาน
รวบรวมผลงาน ผลงานในที่นี้เป็นชิ้นงานหรือผลงานที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น
จัดหมวดหมู่ การจัดหมวดหมู่สามารถทำได้หลายลักษะ เช่น จัดผลงานเป็นกลุ่มของการเรียน
คัดเลือกผลงาน ผู้นำเสนอที่จะคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุดไม่เกิน 3 ชิ้นต่อหนึ่งหมวดหมู่
จัดลำดับความน่าสนใจของผลงานและประเมินตนเอง หลังจากคัดเลือกผลงานจะเห็นภาพได้ชัดขึ้นว่าเรามีผลงานเด่นในด้านใด
ลำดับและร้อยเรียงเรื่องราวให้น่าสนใจ ควรคำนึงว่าผู้ที่ประเมินต้องการเห็นอะไรในแฟ้มผลงาน
ตรวจทาน นอกจากตรวจทานตัวสะกดและความถูกต้องแล้วควรแบ่งการตรวจทานเป็น2ส่วน
นางสาวสกุลทิพย์ เทพสุทา เลขที่25 ม.6/1