Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Croups
image, ข้อมูลทั่วไป - Coggle Diagram
Croups
ความหมาย :
การอักเสบของเยื่อหุ้มบุผิวของทางเดินหายใจตั้งแต่กล่องเสียงลงไปที่ท่อลม และหลอดลมทำให้มีอาการไอเสียงก้อง อาจเกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนต้น ส่วนมากเกิดจากการติดเชื้อไวรัสอาการไม่รุนแรงและหายได้เอง
พยาธิสภาพ
เมื่อเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ส่วนต้นและกล่องเสียงเกิดการอักเสบเกิดการบวมของทางเดินหายใจ มีสิ่งคัดหลั่ง มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
-
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งมีอยู่หลายชนิดที่พบได้บ่อยสุด ได้แก่ ไวรัส parainfluenza นอกจากนี้อาจเกิดจาก adenovirus อาร์เอสวี (respiratory syncytial virus / RSV) ไวรัสหัดเป็นต้น
ส่วนไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ (influenza A) จะทำให้เกิดอาการที่รุนแรงและพบบ่อยในเด็กอายุ 3-7 ปีโรคนี้ติดต่อผ่านทางเดินหายใจเช่น เดียวกับไข้หวัด
จาก Case กรณีศึกษา
เกิดจาการติดเชื่อ WBC= 14,440 cell/cu.mm^3 , Mono 12 %
อาการและอาการแสดง
-
-
-
จะหายได้เองภายใน 3-7 วัน สิ่งตรวจพบไข้ 38-39 องศาเซลเซียส มีอาการไอเสียงก้องและอาจได้ยินเสียง stridor
-
ในรายที่เป็นรุนแรงจะมีอาการไอถี่ ๆ มีเสียง stridor ดังชัดเจนขณะพักหายใจลำบาก หน้าอกปุ่มฟังปอดได้ยินเสียงหายใจเข้าเบากว่าปกติ ปากเขียว เล็บเขียว และอาจมีอาการซึม ไม่รู้ตัว rhonchi
-
การวินิจฉัยโรค
จากอาการและอาการแสดงเป็นสำคัญโดยทั่วไป ไม่ต้องอาศัยการตรวจภาพถ่ายรังสีบริเวณคอ ยกเว้นในรายที่สงสัยว่าจะ เกิดจากการสูดสำลักวัตถุแปลกปลอม ความรุนแรงของโรคสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับดังนี้
- ความรุนแรงน้อย (mild croup) ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้ตามปกติเล่นได้และยังมีความสนใจต่อบุคคล และสิ่งแวดล้อมอาการแสดงมีเพียงไอเสียงก้องบางครั้งไม่มีเสียง stridor ขณะพักหายใจไม่มีอกปุ่ม
- ความรุนแรงปานกลาง (moderate croup) ผู้ป่วยมีไอเสียงก้องเกือบตลอดเวลาขณะพักหายใจมีเสียง stridor หายใจอกปุ่มไม่มีอาการกระสับกระส่าย
- ความรุนแรงมาก (severe croup) ผู้ป่วยไอเสียงก้องขณะพักมีเสียง stridor หายใจอกปุ่มกระสับกระส่าย ระดับความรู้สึกตัวลดลงอ่อนเพลีย พักหลับได้ช่วงสั้น ๆ ไม่สนใจบุคคลและสิ่งแวดล้อม
-
การรักษา
- กลุ่มอาการความรุนแรงน้อย ผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถให้การรักษาตามอาการที่บ้านได้ โดยการให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครอง
- กลุ่มอาการความรุนแรงปานกลาง ให้การรักษาโดยให้พ่นยา epinephrine 1: 1,000 ขนาด 0.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมและให้ยา dexamethasone ขนาด 0.15 หรือ 0.3 หรือ 0.6 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมหรือให้พ่น budesonide ขนาด 2 มิลลิกรัมเฝ้าสังเกตอาการต่อประมาณ 4 ชั่วโมงโดยการเฝ้าติดตามอาการแสดงทางคลินิกและค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนก่อนและหลังให้การรักษา
- กลุ่มอาการความรุนแรงมากรีบให้การรักษาโดยการให้ออกซิเจนไม่รบกวนผู้ป่วยโดยไม่จำเป็นพ่นยา epinephrine 1: 1,000 ขนาด 0.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมยา dexamethasone และพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจถ้าอาการไม่ดีขึ้น
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.เสี่ยงได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากรูปแบบการหายใจขาดประสิทธิภาพจากการบวมและตีบแคบของฝาปิดกล่องเสียงกล่องเสียงหลอดลมหลอดลมฝอย
ข้อมูลสนับสนุน
-
-
-
- v/s T=37.0 c PR= 120 bpm. RR 40 bpm. BP 100/60 mmHg o2 sat 94 %
- หายใจหอบเหนื่อย ฟังเสียงปอดได้ยินเสียง Rhonchi
A:-การเกิดเชื้อที่ปอดจะทำให้เกิดการอักเสบและการบวมของการหายใจมีสารคัดหลังเกิดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อทำให้ทางเดินหายใจอุดกั้นส่งผลให้การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่มีประสิทธิภาพทำให้ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอออ
-
เกณฑ์การประเมินผล
- ไม่มีอาการของภาวะพ่องออกซิเจนเช่นหายใจหอบเหนื่อยปลายมือปลายเท้าเขียว
- การหายใจอยู่ในช่วง 30-60 ครั้ง/นาที ลักษณะการหายใจไม่มีหายใจเร็ว แรงลึก
- ทางเดินหายใจโล่งไม่มีเสมหะ
-
-
การประเมินผล
มีหายใจหอบเหนื่อยไม่มีปลายมือปลายเท้าเขียว การหายใจ 28 ครั้ง/นาที ไม่มีหายใจเร็วแรงลึกทางเดิน หายใจโล่งเสมหะลดลง o2 sat= 96%
-
-
-
-