Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การติดเชื้อ : Infection
โรคติดเชื้อ : Infection disease
โรคิดต่อ : Communicable disease
จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
แหล่งของเชื้อโรค
ทางออกของเชื้อโรคในการแพร่กระจาย
สิ่งนำเชื้อ
ทางเข้าของเชื้อที่ทำให้เกิดโรค
ความไวของแต่ละบุคคลในการรับการติดเชื้อ
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ
Vectorborne transmission
Common Vehicle transmission
Contact transmission
Air bone transmission
โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้อที่เกิดจากการได้รับเชื้อขณะที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจและการได้รับการพยาบาล
ภาวะปลอดเชื้อและเทคนิคปลอดเชื้อ
การปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่เกิดกับเครื่องมือเครื่องใช้สิ่งแวดล้อม
เทคนิคปลอดเชื้อ
การกีดกั้นเชื้อชนิดไม่เคร่งรัด
เทคนิคการทำให้สะอาด
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อด้วยวิธีการแยกเฉพาะ
การกีดกันเชื้อชนิดเคร่งรัด
เทคนิคการทำให้สะอาด การใส่ถุงมือ เสื้อคลุม ที่นึ่งแล้ว
การใช้ปากคีบที่มำให้ไร้เชื้อหยิบเครื่องมือเครื่องใช้ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
เทคนิคปราศจากเชื้อ
เครื่องมือเครื่องใช้ปราศจากเชื้อ
คำศัพท์เเละความหมาย
Sterilization ขบวนการทำลายเชื้อโนคทุกชนิด รวมทั้งพวกที่มีสปอร์ให้หมดไป
Sterile สิ่งของหรือเครื่องมือที่ปราศจากเชื้อโรค รวมทั้งชนิดที่มีสปอร์
Contamination การสัมผัส ปนเปื้อนเชื้อโรค
Disinfection ขบวนการทำลายเชื้อโรคแต่ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์ได้
Disinfectant สารเคมีหรือน้ำยาที่ใช้ทำลายจุลินทรีย์ แต่ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์
Antiseptics สารเคมีที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์
การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้
การล้าง
เป็นขั้นแรกที่สำคัญที่สุดสำหรับในการทำลายเชื้อในขั้นต่อไป สิ่งของที่ปนเปื้อนมากๆ น้ำยาไม่สามารถทำลายเชื้อได้ หากไม่มีการล้าง
การต้ม
เป็นวิธีการทำลายเชื้อที่ดี ง่าย ประหยัด และมีประสิทธิภาพดี การต้มเดือดนาน 10 นาที สามารถทำลายเชื้อได้ยกเว้นสปอร์
การใช้สารเคมี
Disinfectant หมายถึง สารเคมีหรือน้ำยาที่ใช้ทำลายจุลินทรีย์ แต่ไม่สารถทำลายชนิดที่มีสปอร์
Antiseptics หมายถึง สารเคมีที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ สามารถใช้กับสิ่งมีชีวิตได้ปลอดภัย
การทำให้ปราศจากเชื้อ
ดูแลให้ปลอดเชื้อนั้นคงความปลอดเชื้อ
การปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การล้างมือ เป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการลดการติดเชื้อที่เกิดจากการสัมผัสโดยตรง สามารถทำได้ง่ายและสิ้นเปลืองน้อยที่สุด
การล้างมือแบบธรรมดา เป็นการล้างทือเพื่อสุขภาพอนามมัยทั่วไป เช่น เมื่อมือเปื้อนหรือก่อนสัมผัสผู้ป่วยที่ภูมิคุ้มกันต่ำ
การล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล ในกรณีด้วย ไม่สะดวกในการล้างมือด้วยน้ำ และมือไม่ปนเปื้อนสิ่งสกปรก หรือสารคัดหลั่งจากผู้ป่วยให้ทำความสะอาดมือด้วย แอลกอฮอล์เจล
การล้างมือก่อนการปฏิบัติพยาบาลที่ใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและภายหลัง การล้างมือภายหลังการสัมผัสผู้ติดเชื้อหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อ เช่น กระโถนถ่าย หรือสิ่งากปรกเปรอะเปื้อน ก่อนและหลังทำกิจกรรมที่ต้องใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ
การล้างมือก่อนทำหัตถการ
เป็นการล้างมือเพื่อหัตถการ การทำคลอดที่ป้องกันการติดเชื้อ ให้ล้างมือด้วยสบู่เหลวทำลายเชื้อ
การใส่ถุงมือ
ถุงมือจะช่วยป้องกันการติดต่อของเชื้อโรคทั้งทางตรงและทางอ้อม
ถุงมือปลอดเชื้อ
หยิบจับของปลอดเชื้อ
ทำหัตถการต่างๆ เช่น การผ่าตัด
ป้องกันการติดเชื้อไปยังผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
น้ำยาที่ใช้ในการทำลายเชื้อ
แอลกอฮอล์
อัลดีฮัยด์
ไดกัวไนด์
ฮาโลเจน
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ฟีนอล
Quartemary Ammonium Compounds
การติดเชื้อที่แพร่กระจายทางอากาศ
1.แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกพิเศษ และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
ล้างมือแบบ hygienic handwashing หลังถอดถุงมือและก่อนออกจาากห้องแยก
สวมถุงมือชนิดใช้ครั้งเดีนวทิ้ง ทุกครั้งที่สัมผัสผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยใช้ผ้าหรือกระดาษปิดปาก-จมูกเวลาไอจาม และใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิดธรรมดาตลอดเวลา ยกเว้นเวลารับประทานอาหารและแปรงฟัน
ถ้าต้องมีความจำเป็นในตอนเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้อง ให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดธรรมดา
การจำแนกผู้ป่วยแยกออกเป็น 7 แบบ
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางระบบทางเดินอาหาร
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางระบบทางบาดแผลและผิวหนัง
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรงและติดต่อง่าย
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางเลือด และน้ำเหลือง
การแยกผู้ป่วยในรายที่สงสัยว่าจะเป็นโรคติดต่อ
การแยกผู้ป่วยในรายที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง
ถุงมือสะอาดชนิดใช้ครั้งเดียว
ป้องกันสิ่งสกปรกสัมผัสมือ
เมื่อต้องการเคลื่อนย้ายเครื่องมือเครื่องใช้ของผู้ป่วยที่ผ่านการใช้งานแล้วหรือระหว่างให้การพยาบาลผู้ป่วย
การใช้ผ้าปิดปาก-จมูก
ช่วยป้องกันการได้รับเชื้อโรคจากผู้ป่วยเข้าสู่ทางเดินหายใจ และเป็นการป้องกันผู้ป่วยได้รับเชื้อจากผู้อื่นเข้าสู่ทางเดินหายใจ ตลอดจนสามารถป้องกันฝุ่นละอองที่ฟุ้งกระจายอยู่ในอากาศได้ด้วย