Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวางแผนการพยาบาล (Planning) เป็นการวางแผนกิจกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาของผ…
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
เป็นการวางแผนกิจกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาของผู้ป่วย
ขั้นตอน
1.การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
3.การกำหนดกิจกรรมพยาบาลและการประเมินผล
4.การเขียนแผนการพยาบาล
2.การกำหนดจุดมุ่งหมายทางการพยาบาลและเกณฑ์การประเมินผล
โรคจิตเภท
กำหนดวัตถุประสงค์ทางการพยาบาล
1.ระยะเริ่มมีอาการ (prodromal phase)
ค้นหาอาการทางจิตที่ผิดปกติ ดูแลตามอาการ และลดปัจจัยกระตุ้นของการกำเริบของโรค
2.ระยะอาการกำเริบ (active phase)
ดูแล/เฝ้าระวังอันตรายจากอุบัติเหตุ และการทำร้ายตนเอง หรือผู้อื่น สิ่งแวดล้อม จากการมีอาการหลงผิด หวาดระแวงกลัว
ดูแล/เฝ้าระวังภาวะเจ็บป่วยทางกาย หรือภาวะแทรกซ้อนทางกาย เช่น ภาวะทุพโภชนาการ, ภาวะ Electrolyte imbralance เป็นต้น
ดูแล/เฝ้าระวังอาการข้างเคียงของยา หรือภาวะแทรกซ้อนทางกาย ที่เกิดขึ้นจากการได้รับยาจิตเวช เช่น EPS, NMS, Akatesia เป็นต้น
ดูแล/เฝ้าระวังอาการแทรกซ้อนจากการรักษาด้วยไฟฟ้า ECT
3.ระยะอาการหลงเหลือ (residual phase)
เฝ้าระวังการกำเริบของโรคซ้ำ ด้วยการติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่อง ทั้งขณะ admid และหลัง D/C โดยทีมสหวิชาชีพ
การได้รับยา Long acting: Fendec (25) IM ทุกวันที่ 1 ของเดือน เพื่อช่วยลด/ควบคุมอาการทางที่เกิดการกำเริบ หรือลดระดับอาการทางจิตรุนแรง
จัดลำดับความสำคัญของปัญหา
2.ระยะอาการกำเริบ (active phase)
EX.ปัญหาที่ผลกระทบต่อผู้ป่วย และอาจมีผลกระทบต่อผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม เช่น อาการหงุดหงิดก้าวร้าวรุนแรง จากการมีภาวะหวาดระแวง หูแว่ว
3.ระยะอาการหลงเหลือ (residual phase)
EX.ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อเนื่องแก่ผู้ป่วย ในลักษณะที่ไม่รุ่นแรงลดลง หรืออาจสามารถควบคุมอาการหรือพฤติกรรมนั้นได้ เช่น อาการหูแว่วลดลง สามารถทำกิจกรรมต่างๆร่วมกับผู้อื่นได้
1.ระยะเริ่มมีอาการ (prodromal phase)
EX.ปัญหาที่เกิดจากอาการทางจิตที่ส่งผลกระต่อผู้ป่วยหรือผู้อื่น ในระดับที่สามารถควบคุมได้
กิจกรรมพยาบาลและการประเมินผล
1.การบำบัดรักษาทางจิต เช่น การการได้รับยา Long acting, ยา PRN, ECT ยากินตามคำสั่งแพทย์
2.การดูแลให้ผู้รับบริการได้รับการรักษาตามแผนการรักษาของแพทย์
3.เฝ้าระวังพฤติกรรมทำร้ายตนเอง และผู้อื่น จากอาการหูแว่วทหวาดระแวง หลงผิด
4.การป้องกันและลดความไม่สุขสบายจากอาการแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ยาจิตเวช, การพักผ่อนไม่เพียงพอ
5.ส่งเสริมการรับรู้สุขภาพ และการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม เช่น Physicoenducation, CBT,Support Therapy
การเขียนแผนการพยาบาลตาม
หลัก SOAP
S: "มีเสียงมัจจุราชมาพูดข้างๆ พูดว่าพรุ้งนี้จะเป็นวันตายของผม"
O:ผู้ป่วยมีอาการหวาดระแวงกลัว ตาขวาง มีหู่แว่ว
Ex.เสียงต่อการเกิดพฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อตนเอง
ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อมเนื่องจากมีอาการหูแว่ว
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการ และพฤติกรรมที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อตนเอง และผู้อื่น โดยใช้แบบประเมิน OAS ร่วมด้วย
2.พูดคุยให้ข้อมูลความเป็นจริงเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของผู้ป่วย รวมไปถึงอาการหูแว่วและการจัดการ
3.พิจารณาให้ยา PRN for agitation เช่น Halo(5) IM,Valium(10) IV ตามอาการของผู้ป่วย ภายใต้คำสั่งแพทย์
5.ดูแลให้รับปนะทานยาตามแผนการรักษา
4.ติดจาม V/S และอาการข้างเคียงของยา หลังฉีดยา PRN
6.ติดตามอาการและพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง
ประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีอาการและพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ต่อตนเอง และผู้อื่น
โรคจิตชนิดอื่นๆ เช่น Depressive Disorder
กำหนดวัตถุประสงค์ทางการพยาบาล
เป็นการเชิงพฤติกรรม ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมการพยาบาล
วัตถุประสงค์ระยะสั้น
Ex.เพื่อลดอาการ และพฤติกรรมของผู้ป่วยที่แสดงออกถึงการพยายามทำร้ายตนเอง หรือ suicidal
วัตถุประสงค์ระยะยาว
Ex.เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของตนเอง
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
มุ่งเน้นการคุกคามภาวะสุขภาพ หรือมีความรุนแรงต่อภาวะสุขภาพ
ปัญหาระยะสั้น
EX1.อาการ พฤติกรรมที่แสดงถึงการทำร้ายตนเอง หรือการพยายาม Suicidal
EX2.ปัญหาการพกพร่องด้านสัมพันธภาพกับผู้อื่น จากการมีพฤติกรรมแยกตัว
Ex3.ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการได้รับยาทางจิตเวช เช่น side effect ของยา
ปัญหาระยะยาว
EX1.การขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของตนเอง
EX2.บกพร่องการดูแลสุขภาพ จาการไม่ตระหนักต่อภาวะสุขภาพแห่งตน
Ex.3การกลับมาเจ็บป่วยซ้ำจาก Loss F/U หรือการรับประทานยาไม่สม่ำเสมอ
เกณฑ์การประเมินผล
เป็นการตั้งเกณฑ์การประเมินที่มความสอดคล้องตามวัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผลระยะสั้น
Ex.ผู้ป่วยไม่มีอาการ และพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการพยายามทำร้ายตนเอง หรือ suicidal
เกณฑ์การประเมินผลระยะยาว
Ex.ผู้ป่วยบอกถึงความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของตนเอง
การกำหนดกิจกรรมการพยาบาล
ตามหลัก POR: Problem Oriented Recording
กิจกรรมพยาบาล
1.การบำบัดรักษาทางจิต
6.การสอนสุขศึกษา
3.การฝึกและการกระตุ้นการดูแลกิจวัตรประจำวันของตนเอง
4.การจัดสิ่งแวดล้อมเชิงบำบัด
2.การดูแลให้ผู้รับบริการ ได้รับการรักษาตามแผนการรักษาของแพทย์
5.การป้องกันและลดความไม่สุขสบายจากอาการแทรกซ้อนต่างๆ
7.การพยาบาลในเชิงจิตชีววิทยา เช่น การแนะนำอาหารที่มีประโยชน์
การเขียนแผนการพยาบาล
ตามหลัก SOAP
S: Subjective data
O: Objective data
A: Assessment
P: Plan
Ex.เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้า
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผลทางการพยาบาล
ติดตามอาการและพฤติกรรมของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
1.ประเมินอาการ และพฤติกรรมที่แสดงออกถึงภาวะซึมเศร้า โดยนำเครื่องมือ 2Q,8Q,9Q มาประเมินร่วมด้วย
2.รับฟังการพูดระบายความรู้สึกของผู้ป่วย โดยไม่ขัดแย้งถึงคำพูด และพฤติกรรมแสดงออกที่ไม่เหมาะสม
3.แนะนำการเผชิญปัญหาที่เหมาะสมแก่ผูป่วย
4.ดูแลให้รับประทานยาตามแผนการรักษา ภายใต้คำสั่งของแพทย์
5.ส่งเสริมการเข้ากลุ่มบำบัดต่างๆเมื่อผู้ป่วยพร้อม เช่น Support Therapy,CBT,อาชีวะบำบัด เป็นต้น
S: "ฉันไม่อยากมีชีวิตอยู่ มันทรมาน"
O:ผู้ป่วยมีพฤติกรรมแยกตัว ซึมเศร้า ร้องไห้ปล่อยครั้ง