Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 การแก้ปัญหาความขัดแย้ง - Coggle Diagram
หน่วยที่ 2 การแก้ปัญหาความขัดแย้ง
แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
แนวทางการแก้ขปัญหาความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมชน
การเจรจา
การใช้บุคคลที่สามารถทำหน้าที่ในการช่วยไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้ง
การแก้ไขความขัดแย้งด้วยสันติวิธีไม่ใช้ความรุนแรง
แนวทางแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นและครอบครัว
การนัดหมายเวลาในการพูดคุยการแก้ปัญหา
อธิบายถึงปัญหาและความต้องการของตนเองให้อีกฝ่ายรับทราบ
ตรวจสอบความเข้าใจของอีกฝ่าย
เปิดโอกาสเพื่อให้อธิบายความต้องการ
ตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง
หาแนวทางที่จะจัดการกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
พิจารณาถึงปัญหา
ผลของความขัดแย้ง
ผลของความขัดแย้งต่อวัยรุ่นและครอบครัว
ก่อให้เกิดความกระวนกระวายใจ
เป้นผลเสียต่อระบบการทำงานของร่างกาย
เกิดความสะเทือนอารมณ์
การขัดแย้งในครอบครัว
ผลของความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นกับพ่อแม่
ผลของความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมนุม
ผลดี
ตระหนักรับรู้ไม่นิ่งเฉย
สร้างความรู้สึกร่วมในปัญหาที่เกิดชึ้น
ก่อให้เกิดการเรียนรู้เเละปรับรุงพฤติกรรมซึ่งกันและกัน
ช่วยเพิ่มวุฒิภาวะให้กับเยาวชน
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
ผลเสีย
เกิดการต่อต้านทั้งทางลับและทางเปิดเผย
หากใช้ความรุนแรงอาจจะเป็นเหตุให้เกิดความสูญเสีย
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเสื่อมลง
เกิดผลกระทบด้านจิตใจ
อาจจะมีปัญหาอื่นเกิดขึ้นภายหลัง
ทักษะที่เหมาะสมในป้องกัน ลด และแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
ทักษะการสร้างสัมพันธภาพและทักาะการสื่อสารความเข้าใจ
ทักษะการสร้างสัมพันธภาพเพื่อให้เกิดความมั่นคง
การเปิดเผยตนเองและไว้ใจซึ่งกันและกัน
การเล่าหรือบอกความไม่สบายใจของตนเองกับผู้อื่น
ความไว้วางใจ
ทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
ทักษะการฟัง
สื่อสารโดยใช้คำพูดโดยจับใจความ5 ประเด็นคือ ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไหร่
สื่อสารผ่านนำ้เสียง สีหน้า
ความใส่ใจ
การทวนเนื้อความ
การสะท้อนความรู้สึก
ความสามารถในการตัดสินใจกับการแก้ไขปัญหา
การเข้าใจปัญหาใช้หลักอริยสัจ4 ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
ประเมินสถานการณ์เพื่อให้เข้าใจปัญหา
ประเมินโดนการเปรียบเทียบ
เอาใจเขามาใส่ใจเรา
ลองสวมบทบาทเป็นอีกฝ่าย
ลองปฎิบัติตามผู้อื่นเช่นเดียวกับที่ต้องการให้ผู้อื่นปฎับัติต่อเรา
ประเมินโดยสังเกตปฎิกิริยาการตอบสนองของผู้อื่น
สังเกตจากสีหน้าท่าทาง
สังเกตจากคำพูดที่ตอบกลับ
สังเกตจากการกระทำ
ประเมินสภาพที่เป็นอยู่ปัจจุบัน
ความขัดแย้งระดับปานกลาง
ความขัดแย้งระดับน้อย
ความขัดแย้งมาก
การสื่อสารที่สร้างสรรค์
เป็นวิธีบอกความรู้สึกและความต้องการของเราให้คนอื่นทราบ
สื่อที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาพูด
ใช้ถ้อยคำสุภาพ ไพเราะ น่าฟัง
ใช้นำ้เสียงที่นุ่มนวล มีหางเสียง มีจังหวะ
การแสดงสีหน้า ดวงตา ด้วยความจริงใจ
ภาษเขียน
มีความยาวพอควร ไม่ควรยาวเกินไป
มีการแบ่งสาระเป็นวรรค แต่ละวรรคเข้าใจง่าย
ใช้ถ้อยคำที่สุภาพเหมาาะสม
หากทีหลายวรรค ควรสรุปสาระสำคัญก่อน
ภาษากายหรือการแสดงออก
การยิ้ม การโบกมือ
การกำมือ เกร็งมือ เมื่อมีอารมณ์โกรธ
การโอบกอด ตบไหล่เบาๆ
การนั่งกอดอก ไม่สบตาผู้พูด
การจ้องหน้า ด้วยสายตาไม่พอใจ
ความหมายของการขัดแย้ง
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล หมายถึง ความขัดแย้งระหว่าง2บุคคลชึ้นไป ซึ่งเกิดจากค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติ และเป้าหมายที่ไม่สอดคล้องกัน
ความขัดแย้ง คือ สภาพที่บุคคลทั้ง2ฝ่ายมีความคิดเห็นหรือความเชื่อที่ไม่ตรงกัน
สาเหตุของความขัดแย้ง
สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างบุคคล
วิธีการคิดขัดแย้ง
การรับรู้แตกต่างกัน
ความคิดเห็นแตกต่างกัน
ค่านิยมแตกต่างกัน
สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว
ค่านิยม สภาพเศรษฐกิจเ เปลี่ยนแปลงไป
ผู้ใหญ่ใช้ความคิดความสามารถความรู้ของตนมาเป็นมาตรฐานคาดหวังกับวัยรุ่น
ภาพรวมของพ่อแม่ผู้ปกครองสมัยเมื่อเป็นวัยรุ่นแตกต่างจากของปัจจุบัน
ผุ้สูงอายุปรับตัวไม่ทันกับการเจริญเติบโตของวัยรุ่น
บรรยากาศในครอบครัวที่สมาชิกมีความสัมพัณะ์กันไม่ราบรื่น
สภาพความเป็นวัยรุ่นที่รักอิสระ ชอบท้าทยอำนาจ
สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมชน
การมีผลประโยชน์ขัดกัน
การมีอคติ
การอยู่นสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน