Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อไวรัสรับอักเสบชนิดบี (hepatitis B virus)
เกิดจากการติดเชื้อ Hepatitis B virus ผ่าน ทางเลือด น้ําลาย อสุจิ สิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอด น้ํานม และผ่านทางรก
พยาธิสรีรภาพ
ระยะที่สอง
จุกแน่นใต้ชายโครงจากตับโต
ตัวเหลือง ตาเหลือง
อ่อนเพลียคล้ายเป็นหวัด
ตรวจเลือดจะพบ anti-HBe ให้ผลบวกและจํานวน Hepatitis B virus DNA ลดลง
ระยะที่สาม
ตรวจเลือดจะพบ HBeAg ให้ผลลบ anti-HBe ให้ผลบวก
ค่าเอนไซม์ ตับปกติ
ระยะแรก
ตรวจเลือดจะพบ HBeAg ให้ผลบวก
พบ Hepatitis B virus DNA (viral load) จํานวนมาก
ระยะที่สี่
ตรวจเลือดจะพบ HBeAg ให้ผลลบ และ anti-HBe ให้ผลบวก
ตับอักเสบ เรื้อรังจนเนื้อตับเสียหายนำไปสู่ตับแข็งและมะเร็งตับได้
แนวทางการป้องกันและรักษา
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกรายโดยตรวจหาHBsAgเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก
ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ งดการออกแรงทํางานหนัก
รักษา ด้วยยา Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) ขนาด 300 mg รับประทาน วันละ 1 ครั้ง เริ่มรับประทานเมื่ออายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
ทารกที่เกิดจากสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ ควรได้รับการฉีด Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) ให้เร็วที่สุด และฉีด HB vaccine ภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับภูมิคุ้มกันภายหลังคลอด โดยฉีด Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) ให้เร็วที่สุดหลังเกิด และให้ Hepatitis B vaccine (HBV) 3 ครั้ง
ดูแลผู้คลอดโดยยึดหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออย่างเคร่งครัด
หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ําคร่ำ
ไม่จําเป็นต้องงดให้นมมารดาแก่ทารกเนื่องจากอัตราการถ่ายทอดเชื้อจากมารดาสู่ทารกผ่าน น้ํานมพบได้น้อยมาก
แนะนําให้นําทารกมารับวัคซีนเพื่อป้องกันไวรัสตับอักเสบบี และนําบุตรมาตรวจตามนัดเพื่อ ติดตามอาการและป้องกันการติดเชื้อ
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดเอ (Hepatitis A virus)
เกิดจากการติดเชื้อ hepatitis A virus ซึ่งเชื้อไวรัสสามารถทําให้ตับเกิดการอักเสบ ไวรัสตับอักเสบเอ ติดต่อโดยการรับประทานอาหารหรือน้ําที่ มีการปนเปื้อนเชื้อโรคตับอักเสบเอเข้าไป
อาการและอาการแสดง
ตับเหลือง ตาเหลือง
พบ alkaline phosphatase เพิ่มขึ้น
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
มีไข้
อ่อนเพลีย
รตัวเหลืองตาเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
IgM-anti HAV
ตรวจการทํางาน ของตับ
ตรวจหา antibody-HAV
การป้องกันและการรักษา
รักษาแบบประคับประคองตามอาการ
สตรีตั้งครรภ์ติดเชื้อในระยะใกล้คลอด
ให้ immune serum globulin (ISG)
การพยาบาล
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค การรักษา และการดูแลตนเองที่เหมาะสม
ดื่มน้ําให้เพียงพอ
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตั
หัดเยอรมัน (Rubella/German measles)
เกิดจากการติดเชื้อ rubella virus (german measles virus) โดยติดต่อผ่านทางเดินหายใจ
อาการและอาการแสดง
ตาแดง ไอ เจ็บคอ และต่อมน้ําเหลืองบริเวณหลังหูโต
อาจมีอาการปวดข้อ
ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
เกล็ดเลือดต่ำ ปอดบวม
สมองพิการ และปัญญาอ่อน
ตับม้ามโต ตัวเหลือง
การพยาบาล
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อเยอรมันแก่สตรีวัยเจริญพันธุ์ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนมาก่อน
ดูแลด้านจิตใจของมารดา และครอบครัวโดยเปิดโอกาสให้มารดาหลังคลอดและครอบครัวได้ระบายความรู้สึก
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจ การดําเนินของโรค ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์และต่อทารกในครรภ์
สตรีที่ไม่มีภูมิคุ้มกันหรือไม่เคยฉีดวัคซีน ควรได้รับการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันหัดเยอรมันหลังคลอด
กรณีที่ตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ เตรียมร่างกายและจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ให้พร้อมสําหรับการ ทําแท้งเพื่อการรักษา
สุกใส (Varicella-zoster virus: VZV)
เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชื่อ Varicella-zoster virus
(HZV) ซึ่งเป็นเชื้อเดียวกับที่ทําให้เกิดโรคงูสวัด โดยการสัมผัสบริเวณรอยโรค
อาการและอาการแสดง
ตุ่มน้ำใสๆ
มีต่อมน้ําเหลืองที่คอ และหลังหูโตขึ้น
ปวดเมื่อยตามตัว
ตุ่มจะทยอยขึ้น เต็มที่ภายใน 4 วัน
บางเม็ดกลายเป็นตุ่มกลัดหนอง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้
การรักษา
การป้องกันโดยไม่สัมผัสโรค
การรักษาแบบประคับประคอง เพื่อบรรเทาอาการ
ใช้ยาต้านเชื้อไวรัสสุกใส Acyclovir
การพยาบาล
รฉีดวัคซีนป้องกันสุกใสก่อนการตั้งครรภ์ โดยหลีกเลี่ยงการรับวัคซีนในระยะตั้งครรภ์
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
ดูแลให้ทารกรับวัคซีน VariZIG แก่ทารกแรกเกิดทันที
ให้การดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution เพื่อ ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
เน้นย้ำให้เห็นความสําคัญของการมาตรวจตามนัด และมาพบแพทย์ทันทีเมื่อมีอาการผิดปกติ
แนะนําการรับประทานอาหารโปรตีนและวิตามินซีสูง พักผ่อนเพียงพอ ออกกําลังกายสม่ำเสมอ เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง และเพิ่มภูมิต้านทานของร่างกาย
โรคติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส (Cytomegalovirus: CMV)
เกิดจากเชื้อโปรโตซัว Toxoplasma gondii
อาการและอาการแสดง
ปอดบวม
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
ปวดกล้ามเนื้อ
อ่อนเพลีย
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์
คลอดก่อนกําเนิด
รกลอกตัวก่อนกําหนด
แท้ง
ต่อทารกในครรภ์
หินปูนจับในสมอง
ตับและม้ามโต ตาและตัวเหลือง
ทารกหัวบาตร
ทารกมักเสียชีวิตหลังคลอด
แนวทางการป้องกันและการรักษา
ให้ผู้อื่นเป็นผู้ดูแลแมวแทนในช่วงที่ตั้งครรภ์
หากจําเป็นต้องทําความสะอาดอุจจาระแมว สวมถุงมือยาง และล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง
ถ้าพบ IgM ในมารดาอาจมีการติดเชื้อและรักษาด้วย spiramycin
หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ปรุงสุก ผักผลไม้ที่ไม่ผ่านการล้าง
การพยาบาล
เฝ้าระวังการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด
เน้นเรื่องการรักษาความสะอาด การมาตรวจตามนัด
ป้ายตาทารกด้วย 1% tetracycline ointment เพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ตา
สังเกตอาการผิดปกติของทารก ต้องรีบพามาพบแพทย์
ภายหลังทารกคลอดเช็ดตาด้วย 0.9%NSS เช็ดตาทันที
การติดเชื้อโปรโตซัว (Toxoplasmosis)
การติดเชื้อไวรัสซิก้า (Zika)
เกิดจากการติดเชื้อไซโตเมกะโลไวรัส (Cytomegalovirus: CMV) โดย อาจได้รับเชื้อทางการให้เลือด การสัมผัสทางปาก หรือทางเพศสัมพันธ์
อาการและอาการแสดง
ปวดกล้ามเนื้อ
ปอดบวม ตับอักเสบ
ไข้สูงนาน
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดก่อนกําหนด
ถุงน้ำคร่ำติดเชื้อ
ต่อทารก
การพยาบาล
งดให้นมมารดา หากมารดาหลังคลอดมีการติดเชื้อ
แนะนําการปฏิบัติตนหลังคลอด เน้นย้ำเกี่ยวกับการรักษาความสะอาด
ให้การดูแลในระยะหลังคลอดเหมือนมารดาทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution
แนะนําให้สังเกตอาการผิดปกติของทารกที่ต้องรีบพามาพบแพทย์
โรคโควิด-19กับการตั้งครรภ์
เกิดจากเชื้อไวรัสตระกูล Corona ชื่อ SARS-CoV-2 การติดต่อส่วนใหญ่ผ่านทางสัมผัสละอองฝอยจากการไอ หรือจาม
อาการและอาการแสดง
จมูกไม่ได้กลิ่น
เจ็บคอ ไอ
หายใจเหนื่อย
เป็นหวัดมีน้ำมูก
ไข้สูง
การดูแลรักษา
เลื่อนการนัดผ่าตัดคลอดหรือการกระตุ้นคลอดออกไปอย่างน้อย 14 วัน
ให้ยาต้านไวรัส
ถ้ามีไข้ ห้ามใช้ยากลุ่ม NSAIDs
ยุติการตั้งครรภ์ตามขอ้บ่งชี้ด้านสูติศาสตร์หรือกรณีที่จะเป็นประโยชน์ต่อการกู้ชีพ มารดา
การพยาบาล
ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ําสะอาดนานอย่างน้อย 20 วินาที
งดการออกไปในที่ชุมชนสาธารณะโดยไม่จําเป็น และงดการพูดคุย หรืออยู่ใกล้ชิดกับผู้อื่น
รักษาระยะห่าง social distancing ในการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่น ด้วยการอยู่ห่างกัน 1-2 เมตร
การให้นม ควรให้ผู้ช่วยเหลือ หรือญาติที่มีสุขภาพแข็งแรงที่ทราบวิธีการป้อนนมที่ถูกต้อง และต้องปฏิบัติตามวิธีการป้องกันตนเองอย่างเคร่งครัด
หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดผู้ที่มีอาการไอ เป็นไข้
การติดเชื้อไวรัสซิก้า (Zika)
เกิดจากเชื้อฟลาวิไวรัส
(Flavivirus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนําโรค
อาการและอาการแสดง
เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
ปวดเมื่อยตามตัว ปวดข้อ
ไข้ ผื่นแดง
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์
ชา อัมพาตครึ่งซีก
เลือดออกตามผิวหนัง
ตัวตาเหลือง
ต่อทารกในครรภ์
มีความผิดปกติระบบการมองเห็น
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
ทารกตายในครรภ์
การพยาบาล
หากมีไข้ดูแลให้ได้รับยาลดไข้ตามแผนการ รักษา และไม่ควรรับประทานยากลุ่ม NSAID
กําจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายโดยการทําความสะอาด การเทน้ําทิ้ง
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ โดยการฟังเสียงหัวใจทารก
เน้นย้ำการรับประทานอาหารที่มี โปรตีนและวิตามินสูง
ใช้ยากําจัดแมลงหรือยาทาป้องกันยุงกัด