Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแก้ปัญหาความขัดแย้ง, ผลดีของความขัดแย้ง, ผลเสียของความขัดแย้ง - Coggle…
การแก้ปัญหาความขัดแย้ง
ความหมายของความขัดแย้ง
ความขัดแย้ง
สภาพที่บุคคลทั้งสองฝ่ายมีความคิดเห็นหรือความเชื่อไม่ตรงกัน
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
ความขัดแย้งระหว่างบุคคลสองคนขึ้นไปซึ่งเกิดจากการมีค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติไม่ตรงกัน
สาเหตุของความขัดแย้ง
สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างบุคคล
ความขัดแย้งอันเนื่องมาจากวิธีการคิดขัดแย้งกัน
ความขัดแย้งอันเนื่องมาจากความคิดเห็นแตกต่างกัน
ความขัดแย้งอันเนื่องมาจากค่านิยมแตกต่างกัน
ความขัดแย้งอันเนื่องมาจาก "อคติ"
ความขัดแย้งอันเนื่องมาจากการขัดผลประโยชน์กัน
ความขัดแย้งอันเนื่องมาจากการรับรู้แตกต่างกัน
สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว
ภาพรวมของพ่อแม่ผู้ปกครองสมัยเมื่อวัยรุ่นย่อมแตกต่างกัน
ค่านิยมสภาพเศรษฐกิจสังคม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ผู้สูงอายุกว่าปรับตัวไม่ทันความเจริญเติบโตของวัยรุ่น
ผู้ใหญ่ใช้ความคิดความสามารถ ประสบการณ์ความรู้ของคนเป็นมาตรฐาน
บรรยากาศในครอบครัวที่สมาชิกในบ้านมีความสัมพันธ์ต่อกันไม่ราบรื่น
สภาพความเป็นวัยรุ่นที่รักความอิสระ ชอบท้าทายอำนาจ
ผลของความขัดแย้งต่อวัยรุ่นและครอบครัว
เป็นผลเสียต่อระบบการทำงานของร่างกาย
การขัดแย้งในครอบครัว
ก่อให้เกิดความกระวนกระวายใจ
ผลของความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นกับพ่อแม่
เกิดความสะเทือนอารมณ์
แนวทางแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างวัยรุ่นและครอบครัว
พิจารณาถึงปัญหา
ตรวจสอบความเข้าใจของอีกฝ่ายหนึ่ง
อธิบายถึงปัญหาและความต้องการของตนเองให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบ
การนัดหมายเวลา
ตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง
หาแนวทางที่จะจัดการกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
เปิดโอกาส
สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมชน
การอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างกัน
การมีผลประโยชน์ขัดกัน
การมีอคติ
ผลของความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมชน
ก่อให้เกิดการเรียนรู้และปรับปรุงพฤติกรรมซึ่งกันและกัน
ตระหนักและรับรู้
สร้างความรู้สึกร่วมในปัญหาที่เกิดขึ้น
ช่วยเพิ่มวุฒิภาวะให้กับเยาวชน
ความขัดแย้งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเสื่อมลง
เกิดการต่อต้านทั้งทางลับและเปิดเผย
1 more item...
แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมชน
การเจรจา
การใช้บุคคลที่สามมาเพื่อทำหน้าที่ในการช่วยไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้ง
การแก้ไขความขัดแย้งด้วยสันติวิธี ไม่ใช้ความรุนแรง
ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกันลดและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
การสื่อสารที่สร้างสรรค์
การที่บอกความรู้สึกและความต้องการของเราให้คนื่นทราบ
สื่อที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาพูด
เป็นสื่อที่มีการใช้มากที่สุด เพราะง่าย สะดวก และประหยัด
ภาษากายหรือการแสดงออก
การแสดงออกทางกิริยาอาการ สีหน้า ท่าทาง สายตา กาสัมผัส และทุกอย่างที่เห็นหรือได้ยินแล้วเข้าใจความหมาย
ภาษาเขียน
เป็นสื่อรองลงมาเป็นสื่อที่สามารถให้รายละเอียดได้ดีกว่าการพูดและผู้ส่งสารสามารถขัดเกลาภาษาที่ใช้ให้เหมาะสม
ทักษะการสร้างสัมพันธภาพและทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
ทักษะในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อให้เกิดความมั่นคง
การเปิดเผยตนเองและไว้ใจซึ่งกันและกัน
การเล่าหรือบอกความไม่สบายใจของตนเองกับผู้อื่น
ความไว้วางใจ (Trust)
ทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
ทักษะการฟัง (Listening skill) -สื่อสารโดยการใช้คำพูด -สื่อสารผ่านน้ำเสียง
ความใส่ใจ (Attention)
การทวนเนื้อความ (Restatement)
การสะท้อนความรู้สึก (Refection of feeling)
ความสามารถในการตัดสินใจกับการแก้ปัญหา
เข้าใจปัญหา
ประเมินสถานการณ์
สภาพปัจจุบัน
การเปรียบเทียบ
ปฏิกิริยาตอบสนองของผู้อื่น
ผลดีของความขัดแย้ง
ผลเสียของความขัดแย้ง