Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้ออื่นๆ ขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้ออื่นๆ ขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดเอ (hepatitis A virus: HAV)
ผลต่อมารดาและทารก
อาการจะรุนแรงมากขึ้น หากมีการติดเชื้อ HAV สามารถผ่านไปยังทางรกในครรภ์ได้
การป้องกันรักษา
สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อในระยะใกล้คลอดให้ได้รับ ISG 0.5 mg แกทารกทันที
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยกล้มเนื้อ ปวดข้อ ปวดศีรษะ ตัวเหลือง ตาเหลือง ตรวจพบ alkaline phosphatase เพิ่มขึ้น
การพยาบาล
1.อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค การรักษา และการดูแลตนเอง
2.แนะนำให้ปฏิบัติตัว ดังนี้ พักผ่อนให้พอ รับประทานอาหารที่สุก สะอาด และย่อยง่าย มาตรวจตามนัด หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ และไม่ดื่มแอลกอฮอล์
สุกใส (Varicella-zoster virus : VZV)
ผลต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดา
มีอาการรุนแรงมากว่าเด็ก ภาวะภูมิคุ้มกันต่ำลงจากการตั้งครรภ์ จะมีภาวะปอดอักเสบ ระบบหายใจล้มเหลว มีอาการทางสมอง ซึม ชัก เสียชีวิต
ผลต่อทารก
การติดเชื้อในครรภ์ เกิดความพิการ แขนขาลีบ การติดเชื้อปริกำเนิด อาจเสียชีวิตได้
การป้องกันและรักษา
2.การรักษาแบบประคับประคอง เช่น ให้พักผ่อนเพียงพอ ดื่มน้ำมากๆ หลีกเลี่ยงยา แอสไพริน เพราะอาจเกิด Reye's syndrome ทำให้เสียชีวิต
3.การรักษาแบบเจาะจง ใช้ยาต้านเชื้อไวรัสสุกใส Acyclovir
1.ป้องกันโดยไม่สัมผัสโรค เลี่ยงสัมผัสคนที่เป็น ฉีดวัคซีนป้องกัน
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำๆ มีผื่นขึ้น ตุ่ม ขึ้นตามไรผม หรืองหลังก่อน ตุ่นน้ำไส ฐานแดง คันมาก แห้งตกสะเก็ด
การพยาบาล
ระยะคลอด
1.ให้การดูแลเหมือนหญิงตั้งครรภ์ทั่วไป
2.ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด
3.หากตกสะเก็ดแล้วแนะนำเกี่ยวกับการให้นมมารดา
4.แนะนำให้รับประทานอาหารโปรตีนและวิตามิน
2.ป้องกันดารแพร่กระจายเชื้อ
5.ดูแลให้ทารกได้รับวัคซีน VariZIG
เน้นย้ำให้เห็นควาสำคัญของการมาตรวจตามนัด
1.กรณที่มารดามีอาการให้แยกกับทารก 5 วันแรกหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
2.ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค
3.เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวไประบายความรู้สึก
1.แนะนำให้พักผ่อนอย่างเต็มที่
หัดเยอรมัน (Rubella/German measles)
ผลต่อมารดาและทารก
ผลต่อทารก
เกิดขึ้นชั่วคราว ตับม้ามโต ถาวร หัวใจพิการ ตาบอด ปรากฎภายหลัง ภาวะเบาหวาน ลิ้นหัวใจผิดปกติ ความดันสูง
ผลต่ามารดา
ไม่ทำให้อาการรุนแรงแต่รู้สึกไม่สุขสบายเล็กน้อย
การป้องกันและรักษา
1.ให้ภูมิคุ้มกันเนื่องจากเป็นวิธีที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพที่สุด
2.ทารกที่เกิดจากมารดาเป็ฯหัดเยอรมันต้องเก็บเลือดจากสายสะดือส่งตรวจทันที
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว ตาแดง ไอ น้ำเหลืองบริเวณหลังหูโต ปวดข้อ มีตุ่มเล้กๆสีแดงขึ้น เริ่มจากหน้า แผ่ลงมาตามหน้าอก ลำตัว แขนขา
การพยาบาล
5.เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึก
6.อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจ การดำเนินโรค ให้ผู้ป่วยเข้าใจ
4.ประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันหัดเยอรมัน
7.กรณีตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ เตรียมร่างกายและจิตใจให้พร้อม
3.แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
8.รายที่ตัดสินใจดำเนินการตั้งครรภ์ต่อควรให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
2.ถ้ามาฝากครรภ์ควรตรวจด฿ว่ามี๓มิหรือไม่
9.สตรีตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ฉีดวัคซีนควรฉีดเพื่อป้องกันการเกิดโรคทุกราย
1.ให้วัคซีนแก่สตรีวัยเจริญพันธุ์ ที่ยังไม่ได้มาก่อน
ติดต่อผ่านทางเดินหายใจ เชื้อผ่านไปยังทารกได้ทำให้เกิดความพิการ
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี (hepatitis B virus)
อาการและอาการแสดง
สาวนใหญ่จะไม่มีอาการ แต่ถ้ามีจะเป็นไข้ต่ำๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้อง อาจปวดชายโครงขวาด้วย คลำพบตับโต กดเจ็บ ปัสสาวะสีเข้มชาแก่ อาจเป็นตับอักเสบเรื้อรังหรือไตวายได้
ผลต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดา
สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นภาหะแต่ไม่แสดงอาการจะไม่เสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น แต่หากติดเชื้อในไตรมาสที่ 3 จะเพิ่มความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด
ผลต่อทารก
น้ำหนักตัวน้อย ทารกในครรภ์ตาย ทารกคลอดมามีโอกาสติดเชื้อได้
พยาธิสรีรภาพ
2.ระยะที่สอง มีอาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน จุกแน่นใต้ชายโครงตับโต ปัสสาวะเข้ม ตัวเหลือง ตาเหลือง ตับอักเสบ ตรวจเลือดพบ anti-HBe ให้ผลบวกและจำนวน Hepatitis B virus DNA ลดลง
3.ระยะที่สาม ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันอยู่ในระยะสงบ ตรวจเลือดพบ HBeAg ให้ผลลบ anti-HBe ให้ผลบวก และค่าเอนไซม์ตับปกติ
1.ระยะแรก เมื่อได้รับเชื้อจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว แต่ยังไม่มีอาการ แต่ตรวจพบ HBeAg ให้ผลบวก และพบ Hepatitis B virus DNA จำนวนมาก
4.ระยะที่สี่ ระยะที่เชื้อแบ่งตัวขึ้นใหม่ ตรวจเลือดพบ HBeAg ให้ผลลบ และ anti-HBe ให้ผลบวก จะเช้าสู่ภาวะอักเสบเรื้อรังจนเนื้อตับเสียหาย มีพังผืดแทรกจนตับแข็งกลายเป็นมะเร็ง
แนวทางงป้องกันรักษา
ทารกที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อ ควรได้รับการฉีด Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) ภาใย 12 ชม.หลังคลอด ถ้าไม่ได้ต้องให้ภายใน 7 วันหลังคลอด และฉีดอีกครั้งเมื่ออายุ 1 เดือน
การพยาบาล
ระยะคลอด
3.เมื่อศีรษะทารกคลอดให้ดูดมูก เลือดและสารคัดหลั่งต่างๆ
4.ทำความสะอาดทารกทันทีที่คลอด
2.หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ำคร่ำ
5.ดูแลให้ทารกได้รับภูมิคุ้มกันหลังคลอด Hepatitis B immunoglobulin ให้เร็วที่สุด
6.ให้การดูแลผู้คลอดโดยยึดหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
1.ให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียงและให้การดูแล
ระยะหลังคลอด
2.แนะนำให้รักษาความสะอาดของร่างกาย ป้องกันการปนเปื้อนของเลือดหรือน้ำคาวปลา ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ล้างมือให้สะอาด
3.แนะนำให้ทารกมารับวัคซีนเพื่อป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
1.มารดาให้นมบุตรได้ แต่หากหัวนมแตกและอักเสบงดให้นมบุตร
ระยะตั้งครรภ์
2.ให้คำแนะนำแก่สตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับสาเหตุ การติดต่อ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
3.อธิบายแก่สตรีตั้งครรภ์ให้เข้าใจและตระหนักถึงความสำคัยของการมาฝากครััภ์และมาตรวจจามนัด
1.ตรวจคัดกรองสตรีคั้งครรภ์ทุกคนว่าเป็นภาหะของโรคหรือไม่
4.ในรายที่ติดเชื้อเรื้อรัง แนะนำให้ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การติดเชื้อไวรัสซิก้า (Zika)
ผลต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดา
มีไข้ หนาวสั่น ไม่สุขสบาย ตัวเหลืองตาเหลือ ชา อัมพาตครึ่งซีก
ผลต่อทารก
ระบบประสาท ตาและการมอง เจริญเติบโตช้า ตายหลังคลอด
การป้องกันรักษา
เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ปัจจุบันไม่มีวัคซีน รักษาตามอาการ
อาการและอาการแสดง
มียุงเป็นพาหะ มีไข้ ผื่นแดง ปวดเมื่อยตามตัว ข้อ เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
การพยาบาล
ระยะคลอด
รีบดูดน้ำคร่ำ และสารคัดหลั่งในคอ ปาก และจมูก
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายเกี่ยวกับโรคที่เป็น ประเมินสัญญาณชีพ เตรียมส่งตรวจห้องปฏิบัติการ เน้นย้ำมาตรวจตามนัด
โรคติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส (Cytomegalovirus: CMV)
ผลต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดา
ภูมิคุ้มกันลดลง หากติดเชื้อซ้ำจะรุนแรง เสี่ยงต่อการแท้ง
ผลต่าทารก
เสี่ยงเจริญเติบโตช้าในครรภ์ แท้ง fetal distress
การรักษาป้องกัน
2.สตรีที่เคยติดเชื้อควรเว้นระยะห่างการมีบุตรอย่างน้อย 2 ปี
3.รักษาสุขอนามัย
1.วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงนาน ปวดกล้ามเนื้อ ปอดบวม ตับอักเสบ และอาการทางสมอง
การพยาบาล
ระยะคลอด
ขณะคลอดควรดูดเมือกจากปากปละจมูกของทารกด้วย
ระยะหลังคลอด
งดให้นมทารกหากมารดาติดเชื้อ
ระยะตั้งครรภ์
ซักประวัติ อธิบายโรค แนะนำเน้นย้ำให้ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การติดเชื้อโปรโตซัว (Toxoplasmosis)
ผลต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดา
แท้งคลอดก่อนกำเนิด ถุงน้ำคร่ำและเยื่อหุ้มทารกอักเสบ
ผลต่อทารก
ไข้ ชัก ทารกหัวบาตร หินปูนจับสมอง ตับม้ามโต ตาเหลืองตัวเหลือง
การป้องกันรักษา
การให้ผู้อื่นดุแลแมวแทน หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่ไม่ปรุงสุก
อาการและอาการแสดง
ไม่ค่อยแสดงอาการ อ่อนเพลีย ปวดกล้มเนื้อ
การพยาบาล
ระยะคลอด
ภสยหลังคลอดเช็ดตาด้วย 0.9 เปอร์เซ็น NSS เช็ดตาทันที ป้ายตาด้วย 1 เปอร์เซ็น tetracycline
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือด เน้นรักษาความสะอาด มาตามนัด สัเกตอาการผิดปกติ
ระยะตั้งครรภ์
ให้ความรู้เกี่ยวกับดรค ติดตามผลตรวจเลือด เน้นการรักษาอย่างต่อเนื่อง แนะนำเกี่ยวกับการสัมผัสเชื้อ
โรคโควิด-19 กับการตั้งครรภ์ื (COVID-19 during Pregnancy)
ผลต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดา
ภูมิต้านทานของร่างกายลดลง คลอดก่อนกำหนด ถุงน้ำคร่ำแตก รกเสื่อม รกลอกตัวก่อนกำหนด
ผลต่อทารกร
พัฒนาการล่าช้า น้ำหนักตัวน้อย
การป้องกันรักษา
เลื่อนนัดผ่าตัดคลอดอย่างน้อย 14 วัน
มีไข้ห้าในยา NSAIDs
ติดเชื้อรุนแรงให้ยาต้านไวรัส
อาการและอาการแสดง
ไม่แสดงอาการใดๆ อุณหภูมิ 37.5 องศาขึ้นไป แต่จะหายใจลำบาก ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจติดขัด
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการใช้ภาชนะเดียวกัน
ล้างมือบ่อยๆสวมหน้ากากอนามัย
หลีกเลี่ยงการเอามือสัมผัสที่ตา จมูก ปาก
ย้ำให้มาตรวจครรภ์ตามนัด
หลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ที่ไอ เป็นไข้
การให้นมบุตรควรช่วยเหบือ หรือญาติผู้ที่แข็งแรงที่ทราบวิธีการป้อนนม