Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1 มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 1 มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
นิยามความหมายและประเภท
ความหมาย
นิศา ชูโต
- ผู้ทีมีอายุวัดด้วยจำนวนปีตามปฏิทินของเวลาทีมีชีวิตอยู่
บรรลุ ศิริพานิช
- ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เป็นผู้ที่สูญเสียความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และสังคม มีความอ่อนแอมีปัญหาสุขภาพกายและจิตใจ ตลอดจนความเป็นอยู่ในสังคม
สุรกุล เจนอบรม
บุคคลที่อยู่ในวัยสุดท้าย
สุพัตรา สุภาพ
ผู้สูงอายุหรือวัยชรา (The old age) ในแต่ละประเทศหรือแต่ละสังคมกำหนดไว้แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับการทำงานหรือสภาพร่างกาย
World Assembly on Aging
อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปถือว่าเป็นสูงอายุ และใช้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก
WHO
นิยามตามอายุเกิด ตามสังคม วัฒนธรรมและสภาพร่างกาย
ผู้สูงอายุ
บุคคลซึ่งมีอายุเกินกว่า 60 ปีขึ้นไปและมีสัญญาติไทย
ประเภท
ฮอลล์
การสูงอายุตามวัย
สูงอายุตามปฏิทินโดยการนับจากปีที่เกิดเป็นต้นไป
การสูงอายุตามสภาพร่างกาย
พิจารณาการสูงสภาพร่างกายและสรีระของบุคคลที่เปลี่ยนไป
การสูงอายุตามสภาพจิตใจ
เป็นการเปลี่ยนแปลงในหน้าที่ การรับรู้ แนวคิด ความจำ การเรียนรู้ เชาว์ปัญญา และลักษณะบุคลิกภาพที่ปรากฎในระยะต่างๆของชีวิต
การสูงอายุตามสภาพสังคม
เป็นการเปลี่ยนแปลงในบทบาทหน้าที่สถานภาพของบุคคลในระบบสังคม
WHO
ผู้สูงอายุมาก
มีอายุ 60 -74 ปี
คนชรา
มีอายุ 75 -90 ปี
คนชรามาก
อายุ 90 ปีขึ้นไป
จำแนกความช่วยเหลือ
ติดบ้าน
กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ ไม่เดินทางสามารถออกนอกบ้านได้อิสระ
ติดเตียง
ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
ติดสังคม
กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองได้ช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม ชุมชนได้
แบ่งตามการพึ่งพาผู้สูงอายุ
ไม่ต้องพึ่งพาเลย
พึ่งพาบางส่วน
พึ่งพาทั้งหมด
ติดเตียง
แบ่งตามมิติของการให้บริการสุขภาพ
ผู้สูงอายุสุขภาพดี
ผู้สูงอายุมีโรคเรื้อรัง / มีภาวะทุพพลภาพ
ผู้สูงอายุหง่อง / งอง / บอบบาง
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสูงอายุ/สังคมผู้สูงอายุ
องค์การสหประชาชาติ UN
การก้าวเข้าสูงสังคมผู้สูงอายุ
สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์
สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่
ปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากร
อัตราการเกิดลดลง
อัตราการเสียชีวิตลดลง
สถานการณ์คุณลักษณะผู้สูงอายุที่เปลี่ยนแปลงในประเทศไทย
อายุขัยเฉลี่ยและอายุคาดเฉลี่ยเพิ่มมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของประชากร
ภาระของประชากรวัยแรงงานในการดูแลผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสูงอายุ
การที่จำนวนประชากรวัยทำงานจะลดลง ส่งผลให้ผลผลิตรวมของประเทศลดลง คนวัยแรงงานต้องรับผิดชอบต่อภาระการดูแลผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นส่งผลต่อการออมในระดับครัวเรือน และการลงทุน ทำให้ผลิตภาพของแรงงานโดยเฉลี่ยลดลงและสิ่งสำคัญที่สุดคือประเทศที่เข้าสู่สังคมสูงอายุต้องประสบปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขเพิ่มสูงขึ้น
บทบาทพยาบาล ครอบครัวและสังคมต่อการดูแลผู้สูงอายุ
เจตคติต่อการดูแลผู้สูงอายุ
ความรู้สึกนึกคิดของบุคคลที่มี่ต่อผู้สูงอายุเป็นความคิดความรู้สึก อารมณ์ที่มีต่อผู้สู.อายุและกระบวนการสู.อายุ ที่มีได้ทั้งทางบวกและลบ
Myth
ความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับผู้สู.อายุทั้งทางบวกและลบ
Stereotype
ภาพในใจ หรือภาพรวมที่เรามองผู้สู.อายุ ความเชื่อของเราเป็นลบ
Prejudice
ความเชื่อและทัศนคติภาพรวมที่รเาคิด ที่เรามองผู้สูงอายุทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้สูงอายุ
Discrimination
การแบ่งแยกผู้สู.อายุออกจากบุคคลปกติ ซึ่งเป็นการให้การดูแลที่ไม่เหมาะสมต่อผู้สูงอายุและเป็นไปในทางลบ
บทบาทของพยาบาล
ผู้บำบัดรักษา (healer)
ผู้ปฏิบัติ (Implementer)
ผู้ให้การศึกษา (education)
นักวิจัย (Researcher)
ผู้ให้คำปรึกษา (Consultant)
ผู้สนับสนุน (Advocate)
ผู้คิดค้นสิ่งใหม่ (Innovator)