Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ (Diseases of Urinary system) - Coggle Diagram
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ
(Diseases of Urinary system)
ระบบทางเดินปัสสาวะ
1.ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนบน (Upper Urinary tract)
ไตสองข้าง ( Kidney) เป็นอวัยวะสำคัญที่สุดของระบบนี้เป็นที่กรองเอาน้ำและของเสียออกจากโลหิตเป็นน้ำปัสสาวะ
หน่วยไต (Nephron) ทำหน้าที่สร้างปัสสาวะ
กรวยไต (renal pelvis) ส่งมาตามท่อไต (Ureter)
ท่อไต (Ureter)นำน้ำปัสสาวะออกจากไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะ
2.ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนล่าง
(Lower urinary tract)
เป็นที่เก็บพักปัสสาวะที่สร้างจากไตและเป็นทางส่งปัสสาวะขับทิ้งออกนอกร่างกายได้แก่
-กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder) เป็ นที่เก็บน้ำปัสสาวะไว้ชั่วคราวเมื่อได้จำนวนที่พอเหมาะจึงหดตัวบีบน้ำปัสสาวะสูท่อปัสสาวะ(Urethra)
-ท่อปัสสาวะ (Urethra) เป็ นทางผ่านของน้ำปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะสู่นอกร่างกายซึ่งท่อปัสสาวะนั้นมีความแตกต่างกันระหว่างเพศชายและเพศหญิง
หน่วยไตสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
Renal corpuscle
Renal tubule
Renal malformations
ความผิดปกติของไต
ความผิดปกติในปริมาณของเนื้อไต
Agenesisไตฝ่อหรือภาวะที่ไม่มีเนื้อไตRenal agenesis อาจจะเป็นข้างเดียวหรือสองข้างถ้าเป็นสองข้าง เรียกว่า Potter’s syndromeร่วมกับปอดไม่เจริญPotter’s syndromeเกิดจากทารกในครรภ์อยู่ในภาวะขาดน้ำคร่ำทำให้ร่างกายถูกกดทับแขนขาผิดปกติPotter's facies ผิวติดต่ำผิวหนังย่น
Hypoplasia ภาวะที่ไตมีขนาดเล็กกว่าปกติมากกว่าร้อยละ 50จำนวน renal lobule และ calyx ลดลง
Supernumerary kidneyภาวะที่มีจำนวนไตมากกว่าสอง ส่วนใหญ่จะเป็นสามไต
ความผิดปกติในตำแหน่ง
รูปร่างและ Orientation
Ectopia ภาวะที่ไตอยู่ตำแหน่งผิดปกติ
Malrotation ภาวะที่ไตมีrenal pelvis และureterอยู่ทางด้านหน้า
Fusion of kidneys การเชื่อมกันตรงกลางระหว่างเนื้อไตทั้งสองข้าง
ความผิดปกติใน differentiation
Renal cystic diseases
1.Polycystic kidney disease
Adult type พบได้บ่อยเป็นทั้งสองข้างถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์แบบ autosomal dominantไตจะมีขนาดใหญ่ขึ้นผิวนอกตะปุ่ มตะป
Infantile type พบได้ตั้งแต่ทารกแรกคลอด มักจะเสียชีวิตในระยะแรกๆถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์แบบ autosomal recessiveไตมีขนาดใหญ่ทั้งสองข้าง ผิวหนังนอกเรียบหน้าตัดพบ cyst ทั้งที่ cortex และ medulla ทำให้เนื้อมีลักษณะพรุนแบบฟองน้ำ
2.Medullary cyst
Medullary sponge kidney มีการขยายใหญ่เป็นถุงของcollecting tubule ของ medulla พบในผู้ใหญ่ไตยังทำงานปกติ
Uremic Medullary cystic disease เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ มักมีอาการตั้งแต่เด็กพบcyst อยู่ในบริเวณMedullaที่ส าคัญคือมี cortical tubular atrophy และinterstitial fibrosis ร่วมด้วย ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะไตวายในระยะต่อมา
3.Simple cyst อาจพบ cyst เดียวหรือหลายอันขนาดอาจจะเล็กหรือใหญ่มักพบอยู่ในบรเวณcortex เกิด dilatation ของtubule อาจทำให้มีเลือดออก หรือ calcificationในภายหลัง
Glomerular diseases
1.พยาธิสภาพที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันGlomerulonephritis (GN)การอักเสบภายนอกไตที่มีผลต่อไต ส่วนใหญ่เป็นภาวภูมิแพ้ตนเอง(autoimmunity)เช่น Malaria, Syphilis, Hepatitis และSystemic Lupus Erythematosus (SLE)
2.ยาธิสภาพที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันพบได้บ่อยคือ โรคไตจากเบาหวาน(Diabeticnephropathy) หรือจากการรักษาเบาหวาน เช่น การใช้ยากลุ่มซัลโฟนิลยูเรีย(sulfonylurea)ทำให้เกิดภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ จึงเกิดภาวะขาด ADH ตามมาพบบ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน
กลไกการเกิด
1) การกรองเพิ่มขึ้น (hyperfiltration)
2) การเปลี่ยนแปลงกลไกการทำงานของ Renin
Tubulo-interstitial diseases
Acute interstitial nephritis
พบ interstitiaedemal ร่วมกับ leukocytic infiltration และtubularnecrosis
พบ interstitial edemaร่วมกับ leukocytic infiltrationและ tubular necrosis
Chronic interstitial nephritis
พบ interstitialfibrosis , tubular atrophy และ mononuclear cell infiltration
พบ interstitial fibrosis , tubular atrophy และmononuclear cell infiltration
Tubular diseases
โรคที่สำคัญ คือ Acute tubular necrosis (ATN)
เป็นภาวะที่มีการถูกทำลายอย่างฉียบพลันของRenal tubule
เกิดจากการขาดเลือดไปเลี้ยงไตเป็นเวลานาน
ชนิดของ Acute tubular necrosis (ATN)
Nephrotoxic type : ได้รับสารพิษ
Ischemic type : shock
Acute tubular necrosis (ATN) มี3 ระยะ
ระยะที่ 1 Oliguric phase
ระยะที่ 2 Diuretic phase
ระยะที่ 3 Recovery phase
Urinary tract infection ( UTI)
กรวยไตอักเสบ
( Pyelonephritis)อาจเกิดเพียงข้างเดียว หรือ เกิดพร้อมกันทั้งสองข้างแบ่งเป็น
Acute Pyelonephritisเกิดทันที และรุนแรง แต่เมื่อได้รับการรักษา จะหายได้ภายใน 2-3 สัปดาห์
Chronic Pyelonephritisเป็ นการอักเสบไม่รุนแรง แต่เป็นๆหายๆ
นิ่วในทางเดินปัสสาวะUrolithiasis , urinary calculi
ประกอบด้วย amorphous crystalloid ได้แก่ uricacid, calcium , oxalate และ magnesium phosphate
ปัจจัยส่งเสริม ได้แก่
crystalloid conc. เพิ่มขึ้นในปัสสาวะ : ปัสสาวะน้อย
crystalloid ตกตะกอนมากขึ้น : การคั่งของปัสสาวะ
Foreign bodies : แบคทีเรีย
Nephrocalcinosis
ภาวะที่มี calcium สะสมในเนื้อไตNephrocalcinosis เป็ นสาเหตุหนึ่งของการเกิดนิ่วในไตสาเหตุเกิดจาก Hypercalcemia
กลไกการเกิดการมีระดับแคลเซียมในเลือดสูง
Urinary tract obstruction
ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
สาเหตุ
ความพิการแต่กำเนิด
การอุดกั้นจากรอยโรคที่เกิดขึ้นภายหลัง
ความผิดปกติของระบบประสาทที่ควบคุมการทำงานของกระเพาะปัสสาวะ
ผลจาก Urinary tract obstruction
1.ทำให้ทางเดินปัสสาวะส่วนอยู่เหนือตำแหน่งที่มีการอุดตันขึ้นไปขยายตัว (dilatation)
มีโอกาสเกิดนิ่วและการติดเชื้อเพิ่มขึ้น และทำลายเนื้อไตอย่างถาวร
Hydronephrosis ภาวะที่มี dilatation ของ renal pelvis และ Calyx ร่วมกับมี Progressive atrophy ของเนื้อไต
ความผิดปกติในส่วนของ Ureterพยาธิสภาพที่สำคัญ คือ การอุดกั้นเนื้องอก vesicoureteral reflux
Vesicoureteral reflux เป็นความผิดปกติที่เกิดจากมีการไหลย้อนกลับของน้ำปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะเข้าไปในหลอดไตและ renal pelvis
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ(Cystitis)เกิดจากเชื้อแบคทีเรียมักเกิดในผู้หญิง
ท่อปัสสาวะอักเสบ (Urethritis)เป็นการบาดเจ็บ อักเสบ บวม ของเซลล์เยื่อเมือกบุท่อปัสสาวะพบในทุกอายุผู้หญิงมีโอกาสเป็นได้สูงกว่าผู้ชาย