Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรสภาพของความเจ็บปวด การอักเสบ การบาดเจบ และภาวะไข้, 214331840…
พยาธิสรีรสภาพของความเจ็บปวด การอักเสบ
การบาดเจบ และภาวะไข้
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความเจ็บปวด
ชนิดของความเจ็บปวด
ไปยังประสาทส่วนกลาง ทำให้เกิดการรับรู้
เกิดการตอบสนองต่อสิ่งที่เป็นอันตราย
ความเจ็บปวดเป็นกลไกในการป้องกันตัวเอง ประสาทตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ทำลายเซลล์ เกิดการเปลี่ยนเเปลงทางเคมีเซลล์ประสาท
จำแนกตามระยะเวลา
จำแนกตามความเร็ว
อาการปวดที่ไม่ได้เกิดทันที
อาการปวดที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
จำแนกตามลักษณะ
อาการปวดร้าว
อาการปวดเฉียบ
อาการปวดศีรษะ
โรคปวดหลังส่วนล่าง
อาการปวดหลอนภายหลังถูกตัดแขนตัดขา
ปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการเกิดความเจ็บปวด
เส้นใยประสาท
ตัวรับความเจ็บปวด
กลุ่มประสาทที่อยู่ปนปลายประสาท axon
เป็นปลายประสาทอิสระ กระจายอยู่ทั่วร่างกาย
การรับรู้ความเจ็บปวด
สิ่งกระตุ้นให้เกิดความเจ็บปวด
การตอบสนองต่อความเจ็บปวด
จำแนกตามตำแหน่ง
สาเหตุของความเจ็บปวด :warning:
พบบ่อยที่สุดได้แก่อุบัติเหตุ การกระทบกระแทก
การอักเสบหรือการติดเชื้อ เช่นไส้ติ่งอักเสบ การเกิดฝีหนอง
อาการปวดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเช่น ตะคริวขณะออกกำลังกาย
ระบบประสาทถูกทำลาย เช่นเนื้องอกในสมอง
การขาดเลือดหรือออกซิเจน
ความกดดันททางอารมณ์ เช่นความเครียด ความโกรธ
การอักเสบ
เป็็นกระบวนการตอบสนองที่ซับซ้อนของร่างกาย
เป็นปฏิกิริยาตอบสนองเฉพาะ
ต่อสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อ
สาหตุของการอักเสบ : ไม่ใช่จากการติดเชื้อ
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ
สิ่งแปลกปลอมจากภายนอกร่างกาย
ภูมิคุ้มกันต่อต้านตัวเอง
การตายของเนื้อเยื่อ
สารเคมี
ชนิดของการอักเสบ
การอักเสบเฉียบพลัน Acute inflammation
กลไกการอักเสบ
โครงสร้างหลอดเลือดเปลี่ยน สารโปรตีนไหลออกนอกหลอดเลือด
เพิ่มการซึมผ่านผนังหลอดเลือด
เลือดข้นและหนืดมากขึ้น
เม็ดเลือดขาวเคลื่อนตัวออกจากหลอดเลือด (จับกินเชื้อโรค)
หลอดเลือดขยายตัว เลือดมาเลี้ยงมาก
เนื้อเยื่อมีสีแดง อุณหภูมิศุงขึ้น
เกิดจากฤทธิ์ของ Mediator
สาเหตุที่ทำให้ของเหลวรั่วไหลออกจากหลอดเลือด
มีการรั่วไหลขณะเม็ดเลือดขาวไชทะลุผ่านผนังหลอดเลือด
เพิ่มกระบวนการไหลซึมผ่านช่องว่างในเซลล์บุผนังหลอดเลือด
การทำหลายเซลล์ผนังหลอดเลือดโดยตรง
สร้างเซลล์บุผนังหลอดเลือดใหม่
จากการกระตุ้นของสารชักนำการอักเสบ เช่นhistamine, bradykinin
อักเสบในช่วงเวลาที่เป็น (นาที/ชั่วโมง/วัน)
ผลที่ตามมาหลังเกิดการอักเสบ
กลับคืนสู่สภาพเดิมทุกประการ
ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
-มีการพอกของเยื่อพังผืด
-สร้าง GRANulation tissue
กลายเป็นหนอง
การอักเสบเรื้อรัง
การอักเสบเริ้อรัง
สาเหตุของการอักเสบเรื้อรัง
การติดเชื้อที่รักษาไม่หาย
โรคภูมิต้านทานตนเอง
ได้รับสิ่งที่เป็นอันตรายต่อเนื่องเป็นเวลานาน
กลไกการซ่อมแซมและการหาย
สร้างเซลล์ใหม่ขึ้นทดแทน
สะสมเยื่อเกี่ยวพันชนิด collagen
สร้างหลอดเลือดใหม่
ตกแต่งเนื้อเยิ่อที่สร้างขึ้นใหม่
สร้างสารโปรตีนบริเวณชนิดนอกเซลล์
มีเซลล์เพิ่มมากขึ้น และเคลื่อนเข้าหากันเพื่อปิดแผล
ความผิดปกติ
หากเกิดการสะสมเยื่อ collagen มาก บริเวณปากแผลจะพบก้อนแผลนูน ( Keloid)
สาเหตุของการอักเสบ : การติดเชื้อ (Imflammation )
Bacteria
Fungus
Virus
Parasite
การเคลื่อนตัวของเม็ดเลือดขาวจากหลอดเลือด
Transmigration (เจาะออกมา) ไหลลงมาติดกับผนังหลอดเลือด--ทำลายออกมาด้านหนอกผิวหนัง
Adhesion เกาะติด เมื่อร่างกายเกิดการบาดเจ็บ/อักเสบ
โดยเม็ดเลือดขาวจะลอยอยู่ในหลอดเลือด
Margination---Rplling
อาการของการอักเสบ
บวม
ปวด
ร้อน
แดง
ภาวะไข้
เป็นอาการแสดงทางการแพทย์ที่พบบ่อย มีกาารเพิ่มของอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าค่าปกติ คือ 36.5-37.5 องศา
สาเหตุของไข้
ความผิดปกติของระบบประสาท
จากโรคต่าางๆเช่น โรคจากต่อมไทรอยด์
ยาและสารจากภายนแกร่างกาย
ภาวะทางอารมณ์
การบาดเจ็บของเซลล์
ภาวะภูมิคุ้มกันต้านตนเองและภูมิคุ้มกันไวเกิน
การได้รับเชื้อโรค
ภาวะขาดน้ำ
กลไกการเกิดไข้
ระยะสั่น
ร่างกายปรับตัวตามการถูกกระตุ้นที่ศูนย์ควบคุมอุณหภูมิทำใหกล้ามเนื้อสั่น
ระยะหน้าแดง
ร่างกายหยุดสั่น หลอดเลือดขยายตัว ใบหน้าแดง ตัวเเดง/อุ่น
ระยะเริ่มต้น
เริ่มรู้สึกไม่สบาย ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
ระยะไข้ลด
มีอาการดีขึ้น เหงื่อออก รู้สึกตัสดี
เมื่อเกิดการ Infecttions/ Toxins
Mediater
( IL1/IL6/TNF/Prostaglandins)
ส่งสัญญาณไปที่ Vasomotor center หลอดเลือดขยายตัว
Skin vasoconstriction.
เกิดความร้อนผ่านร่างกาย
Sympathetic nerves. หลอดเลือดหดตัว
Fever . อุณหภูมิสูง เกิดการไข้
การจัดการกับไข้
ควรนอนพักผ่อน
รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย แต่แคลอรี่สูง
วัดอุณห๓ูมิของร่างกายและประเมิณภาวะสุขภาพทั่วไป
สังเกตอาการขาดน้ำและอาการผิดปกติอื่นๆ
กระตุ้นให้จิบน้ำบ่อยๆ
จัดสภาพแวดล้อมให้อากาศถ่ายเท
ช่วยเหลือคนไข้
ให้การดูแลด้วยความสนใจ