Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 การเเก้ปัญหาความขัดเเย้ง - Coggle Diagram
หน่วยที่ 2
การเเก้ปัญหาความขัดเเย้ง
ความหมายของความขัดเเย้ง
ความขัดเเย้ง (Conflict)
สภาพที่บุคคลทั้งสองฝ่าย มีความคิดเห็นหีือความเชื่อ ไม่ตรงกัน เเละยังไม่สามารถหาข้อยุติที่สอดคล้องกันได้
ความขัดเเย้งระหว่างบุคคล
ความขัดเเย้งระหว่างสองบุคคลขึ้นไป ซึ่งเกิดจากการมีค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติ เเละเป้าหมายไม่สอดคล้องกัน
สาเหตุของความขัดเเย้ง
สาเหตุของความขัดเเย้งระหว่างบุคคล
ความขัดเเย้งอันเนื่องมาจากวิธีการคิดขัดเเย้งกัน
ความขัดเเย้งอันเนื่องมาจากการรับรู้เเตกต่างกัน
ความขัดเเย้งเนื่องจากความคิดเห็นเเตกต่างกัน
ความขัดเเย้งอันเนื่องมาจากค่านิยมเเตดต่างกัน
ความขัดเเย้งมาจาก อคติ ของส่วนบุคคล
ความขัดเเย้งมาจากขัดผลประโยชน์กัน
สาเหตุความขัดเเย้งวัยรุ่นกับครอบครัว
ภาพรวมของพ่อเเม่สมัยวัยรุ่นเเตกต่างในสมัยปัจจุบัน
ค่านิยม สภาพเศรษฐกิจต่างๆเปลี่ยนไป
ผู้สูงอายุปรับตัวไม่ทัน
สภาพบรรยากาศในครอบครัวไม่อำนวย
ความคิดต่างๆที่ทำให้เกิดความสับสนได้
ผู้ใหญ่ใช้มาตราฐานความคิดเป็นหลัก
สาเหตุความขัดเเย้ง ระหว่างนักเรียน เเละเยาวชนในชุมชน
การอยู่ในสภาพเเวดล้มต่างกัน
การมีอคติ
การมีผลประโยชน์ขัดกัน
ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกันลดเเละเเก้ไขปัญหาความขัดเเย้ง
การสื่อสารที่สร้างสรรค์
ภาษาเขียน
ภาษากายหรือการเเสดงออก
การสื่อสารโดยใช้ภาษากาย
ภาษาพูด
ทักษะการสร้างสัมพันธภาพเเละทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
ทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
ทักษะการฟัง
การทวนเนื้อความ
ความใส่ใจ
การสะท้อนความรู้สึก
ทักษะในการสร้างงความสัมพันะภาพดพื่อให้เกิดความมั่นคง
การเล่าหรือความไม่สบายใจให้คนอื่นฟัง
ความไว้วางใจ
การเปิดเผยตนเองเเละไว้ใจซึ่งกันเเละกัน
ความสามารถในการตัดสินใจกับปัญหา