Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 1ปี 5 เดือน อาการสำคัญที่มา ไอ หายใจลำบาก 7…
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 1ปี 5 เดือน อาการสำคัญที่มา ไอ หายใจลำบาก 7 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล แพทย์ วินิจฉัย pneumonia with reactive aiirway disesase
-
คำสั่งการรักษา
6/04/64
:pen: ventolin 0.3ml+3%nacl up to 3ml (NB) q4
sabutamol 0.4 ml+nss up to 3ml (NB) q4
:explode: hydrocortisone 50 ml stat
on oxygen cannula 3 lpm keep spo2 >95 %
7/04/64
:pen: D/C No f/u
:pen: flmex syr 1/2 tid pc
:pen: ORS จิบบ่อยๆ
:pen: para syr 120mg/5cc 1tsp po prn q4-6 hr
-
-
-
-
-
pneumonia
อาการและอาการแสดง
อาการของปอดอักเสบมีลักษณะและความรุนแรงแตกต่างกันไปในแต่ละราย ขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อป็นสาเหตุ
อายุ ตำแหน่งที่เกิดการอักเสบ อาการส าคัญ ได้แก่ ไข้ ไอ หายใจเร็วกว่าปกติ (Tachypnea) และหายใจลำบาก (Dyspnea) ในรายที่เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียมักมีไข้สูงแบบเฉียบพลันสูงกว่า 38.5 องศาร่วมกับมีอาการไอ ยกเว้นในเด็กที่มีการขาดสารอาหารขั้นรุนแรงอาจไม่มีอาการไอหรือไอน้อยมาก เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง
มีอาการหายใจเร็ว ซึ่งเป็นอาการเริ่มแรกเนื่องมาจากมีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด หอบ เหนื่อย จะเห็นผนังทรวงอกบุ๋มบริเวณ
-
เชื้อไวรัสและแบคทีเรีย หรือเชื้อก่อโรคสามารถเข้าสู่ทางเดินหายใจทางการสัมผัส (direct contact)droplet เชื้ออาจฝังตัวที่ปอดโดยตรง หรือแพร่กระจายตัวลงมาจากทางเดินหายใจส่วนบน หลอดลมฝอยซึ่งก่อนที่เชื้อไวรัสจะก่อโรคนั้นเยื่อเมือกและเยื่อบุทางเดินหายใจชนิดที่มีเซลล์ขนกวัดจะพยายามกำจัดเชื้อโรคออกจากทางเดินหายใจ แต่ถ้าเชื้อโรคนั้นมีจำนวนมากและรุนแรงร่างกายจะเริ่มต่อต้านเชื้อโดยใช้ภูมิคุ้มกันชนิดต่าง ๆ เช่น antibody, complement, phagocytes และcytokined เช่น เชื้อแบคทีเรีย Streptococcus pneumoniae จะสร้าง pneumolysin ไปกระตุ้นcomplement ทำให้เกิดการอักเสบได้มากและทำให้เซลล์ในร่างกายตายได้ ทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ เป็นผลให้ความจุปอดและความยืดหยุ่นของปอดลดลง ซึ่งก็จะพบว่าเยื่อบุปอดบวม มีเสมหะจำนวนมากในถุงลมและทางเดินหายใจ เลือดที่ไหลผ่านปอดส่วนนั้นจะไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซซึ่งกันและกันกับถุงลมปอด ซึ่งก็จะทำให้เด็กได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
เชื้อแบคทีเรีย Streptococcus pneumoniae จะสร้าง pneumolysin ไปกระตุ้นcomplement ทำให้เกิดการอักเสบได้มากและทำให้เซลล์ในร่างกายตายได้ ทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ เป็นผลให้ความจุปอดและความยืดหยุ่นของปอดลดลง ซึ่งก็จะพบว่าเยื่อบุปอดบวม มีเสมหะจำนวนมากในถุงลมและทางเดินหายใจ
Reactive airways disease
อาการไอเกิดจากการกระตุ้นตัวรับสัญญาณการไอซึ่งแทรกอยู่ระหว่างเซลล์เยื่อบุทางเดินหายใจตั้งแต่คอหอยจนถึงหลอดลม โดยการกระตุ้นอาจเป็น mechanical stimuli เช่น หลอดลมตีบความยืดหยุ่นของปอดลดลงเมื่อมีการกระตุ้นจะมีการส่งสัญญาณผ่านทาง afferent fiber ของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 ไปยังศูนย์ควบคุมการไอที่อยู่บริเวณก้านสมอง หลังจากนั้น
จะมีการส่งสัญญาณผ่านกลับมาทางefferentfiberของเส้นประสาทสมองคู่ที่10และไขสันหลังมากระตุ้นบริเวณกล่องเสียง กระบังลม และกล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจ ทำให้เกิดอาการไอขึ้น
จากกรณีศึกษา
ไอ หายใจลำบาก มีน้ำมูกใส ไม่มีไข้ ปอดมีเสียง wheeze
สาเหตุ protracted bacterial bronchitis
สาเหตุของอาการไอเรื้อรังในเด็กที่พบบ่อยได้แก่ โรคหืด protracted bacterial bronchitisและ upper airway cough syndrome สำหรับสาเหตุอื่นของอาการไอเรื้อรังในเด็กที่พบรองลงมาได้แก่ โรคกรดไหลย้อน โรคไอกรน วัณโรคปอด การไอตามหลังการติดเชื้อ การสำลักสิ่งแปลกปลอมbronchiectasis, psychogenic coughความผิดปกติของหลอดลมที่มีมาแต่กำเนิดcystic fibrosis เป็นต้น
-
-
-
-