Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การแก้ปัญหาความขัดแย้ง - Coggle Diagram
บทที่ 2 การแก้ปัญหาความขัดแย้ง
สาเหตุของความขัดแย้ง
สาเหตุความขัดแย้งระหว่างบุคคล
ความขัดแย้งเนื่องจากอคติ
ความขัดแย้งเนื่องจากความคิดที่แตกต่าง
ความขัดแย้งจากค่านิยมที่แตกต่างกัน
ความขัดแย้งเนื่องจากผลประโยชน์
ความขัดแย้งเนื่องจากการรับรู้ที่ต่างกัน
สาเหตุความขัแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชน
มีผลประโยชน์ที่ขัดกันนำไปสู่ความขัดแย้ง
การที่มีอคติเดิมทำให้เกิดความขัดแย้ง
สภาพแวดล้มที่ต่างกันทำให้เกิดความขัดแย้ง
สาเหตุความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นและครอบครัว
บรรยากาศในครอบครัวไม่ราบรื่นทำให้เกิดความขัดแย้ง
พ่อแม่ใช้ความคิดตนเป็นมาตรฐานและคาดหวังการกระทำของวัยรุ่นทำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างวัย
ความร่วมสมัยของพ่อแม่และวัยรุ่นต่างกันทำให้เกิดความขัดแย้ง
ผู้ที่มีอายุมากกว่าปรับตัวไม่ทันความเจริญเติบโตของวัยรุ่นยังติดภาพว่าวัยรุ่นเป็นเด็กเสมอ
ค่านิยม สภาพเศรษฐกิจ สังคม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ที่เปลี่ยนแปลงไปหากไม่ยอมรับกันจะเกิดปัญหาได้
ความหมายของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล คือ ความขัดแย้งระหว่างบุคคลสองบุคคลขึ้นไป ซึ่งเกิดจากการมีค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติ และเป้าหมายที่ไม่สอดคล้องกัน
สภาพที่บุคคลทั้งสองฝ่ายมีความคิดหรือความเชื่อไม่ตรงกันและยังไม่สามารถหาข้อยุติที่สอดคล้องกันได้
ในทักษะที่เหมาะสมในการป้องกันลดและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
การเข้าใจปัญหา
ยึดหลักอริยสัจ 4 โดยประเมินและเข้าใจปัญหา
สื่อที่ใช้สื่อสาร
การพูด-ควรพูดด้วยเสียงนุ่มนวลแสดงความจริงใจ
การเขียน-ใช้ถ้อยคำสุภาพและถูกต้องเหมาะสม
การแสดงออก-ควรยิ้มด้วยใบหน้าแจ่มใสและมีบุคลิกภาพที่ดี
การสร้างสัมพันธ์เพื่อเกิดความมั่นคง
การไว้ใจซึ่งกันและกันแสดงความปลอบโยนเมื่ออีกฝ่ายไม่สบายใจ
ผลของความขัดแย้ง
เกิดความสะเทือนอารมณ์
ก่อให้เกิดความกระวนกระวาย
อาจจะนำไปสู่ปัญหาภายในครอบครัว
ทำให้สุขภาพจิตเสื่อมโทรม
ระบบร่างกายทำงานผิดปกติเนื่องจากความครียด