Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการของการพยาบาลจิตเวช, นางสาวอมรทิพย์ รัตชาตา รหัส 62113301093 …
หลักการของการพยาบาลจิตเวช
แนวปฏิบัติของการพยาบาลจิตเวช
การเคารพผู้ป่วย
การช่วยเหลือ
ยอมรับในพฤติกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออก
กระบวนการแก้ปัญหา
เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้ป่วย
ปฏิบัติการพยาบาลเน้นความเป็นปัจจุบัน
ตระหนักในตนเอง
ความสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย
ลักษณะพยาบาลจิตเวช
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีทางจิตเวช
มีทัศนคติที่ดีต่อผู้มีปัญหาทางจิต
จริงใจ เข้าใจ และช่วยเหลือ
ยอมรับความเป็นบุคคล
รักและเข้าใจเพื่อนมนุษย์
สม่ำเสมอในการกระทำและคำพูด
อดทน ยืดหยุ่น มีความสมดุลทางอารมณ์
ตระหนักรู้ในตนเองและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ขอบเขตของพยาบาลจิตเวช
ส่งเสริมสุขภาพจิต
สอนและให้คำแนะนำ
มีการประสานงานกับครอบครัวผู้ป่วยหรือองค์กรในชุมชน
มีการศึกษาและวางแผน
การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต
การป้องกันระดับแรก
ให้ความรู้และสอนเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพจิต
ให้คำปรึกษาและช่วยให้จัดการกับปัญหาความเครียด
สนับสนุนให้สมาชิกในครอบครัวมีบทบาทที่เหมาะสม
จัดโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพจิต
การป้องกันระดับที่สอง
ตรวจเพื่อค้นหาผู้ป่วยทางจิตในชุมชน
เข้าไปมีส่วนร่วมในการประเมินสุขภาพ
ให้บริการและคำปรึกษา
การทำบำบัดเป็นรายบุคคล
ป้องกันการเกิดความรุนแรง
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
การป้องกันระยะที่สาม
ดูแลผู้ป่วยภายหลังจำหน่าย
จัดกิจกรรมพิเศษขณะอยู่ที่โรงพยาบาลและกลับบ้าน
การบำบัดรักษา
ช่วยเหลือปัญหาทางด้าน อารมณ์ การรับรู้และพฤติกรรม
ให้สามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้ปกติสุข
การฟื้นฟูสุขภาพจิต
ร่วมกับสมาชิกในทีมสุขภาพ
แก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวันได้
กืจกรรมเพื่อการเรียนรู้ใหม่
กิจกรรมเพื่อฝึกหัตถการอยู่ร่วมกันในสังคมใหม่
กิจกรรมเพื่อสร้างสรรค์คุณค่าให้กับตนใหม่
ปรัชญาของการพยาบาลจืตเวช
บุคคลมีคุณค่าและศักดิ์ศรีในตนเอง
มีเป้าหมายชีวิต
มีศักยภาพในการเปลี่ยนแปลง
ดำเนินกิจกรรมแบบผสมผสาน
มีความต้องการพื้นฐาน
พฤติกรรมที่แสดงออกมีความหมายและเกิดขึ้นเป็นลำดับขั้น
ความสามารถในการปรับตัวมีไม่เท่ากัน
บริการด้านสุขภาพที่พึงได้รับ
บุคคลมีสิทธิร่วมตัดสินใจในสุขภาพตนเอง
บทบาทของพยาบาลจิตเวช
บทบาทหน้าที่ระดับพื้นฐาน
จัดสรรสิ่งแวดล้อมเพื่อการรักษา
เป็นเสมือนตัวแทนแม่ สังคมและครู
ให้คำปรึกษาและแนะนำ
รักษาดดยใช้เทคนิคเฉพาะทางการพยาบาล
บทบาทหน้าที่ในระดับสูง
ให้คำปรึกษากับผู้ป่วยที่มีปัญหาซับซ้อน
เป็นผู้ติดต่อให้ความร่วมมือ
เเป็นผู้บำบัดรักษาเบื้องต้น
สร้างสัมพันธภาพ
ทำจิตบำบัด ประคับประคอง ให้ความรู้ ประสานงาน
ประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่
มีความสามารถใช้งานวิจัย
สามารถตัดสินใจเชิงจริยธรรม
สามารถประเมินผลลัพธ์ มีทักษะการสอนชี้แนะแก่ครอบครัว บุคคล
เครื่องมือในการคัดกรองสุขภาพจิต
แบบประเมินสุขภาพจิต GHQ
แบบคัดกรองปัญหาอาการวิตกกังวลและอาการซึมเศร้า HADS
แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าและแบบคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น CES-D
แบบวัดความเครียดสวนปรุง SPST-20
แบบคัดกรองพัฒนาการเด็ก
แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในเด็ก
แบบคัดกรองโรคในกลุ่มพัฒนาก่ีผิดปกติในเด็ก อายุ 1-18 ปี
นางสาวอมรทิพย์ รัตชาตา รหัส 62113301093
ชั้นปีที่ 3