Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การติดเชื้อ
แหล่งติดเชื้อ
ทางออกของเชื้อโรคในการแพร่กรพจาย
1.ทางเดินหายใจ
2.ทางเดินอาหาร
3.ทางเดินปัสสาวะ
4.อวัยวะสืบพันธุ์
5.เลือด
6.ผิวหนัง
สิ่งนำเชื้อ
1.อากาศ
2.อาหารและน้ำ
3.สัมผัสโดยตรงกับคน
4.วัตถุต่างๆ
5.แมลงและสัตว์
6.บุคคลที่มีเชื้อโรคนั้นเอง
วิธีการแพร่กระจายของเชื้อ
3.Air bone transmission โดยการสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
4.Contact transmission คนสู่คน สัมผัสสิ่งของสู่ร่างกาย สัมผัสกับละออง น้ำมูก น้ำลาย
2.Common Vehicle transmission โดยจุลชีพปนเปื้อนอยู่ในเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหารและยา
1.Vectorborne transmission โดยแมลง
ทางเข้าของเชื้อที่ทำให้เกิดโรค
2.จมูก
3.ปาก
1.ดวงตา
ความไวของแต่ละบุคคลในการรับการติดเชื้อ
3.อ่อนเพลีย
4.ภูมิแพ้
2.ภาวะโภชนาการ
5.วัย
1.ความเครียด
การติดเชื้อในโรงพยาบาล Nosocomial infection
Asepsis หมายถึงการปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงการติดเชื้อที่จะเกิดกับเครื่องมือเครื่องใช้ อละสิ่งแวดล้อมเป็นการควบคุม การติดเชื้อ ลดแหล่งของเชื้อโรค การแพร่กระจากของเชื้อ
เทคนิคปลอดเชื้อ (Aseptic technique)
2.การกีดกั้นเชื้อชนิดเคร่งครัด
เทคนิคการทำความสะอาด การใส่ถุงมือ เสื้อคลุม
เทคนิคการทำความสะอาด การใส่ถุงมือ เสื้อคลุม
เทคนิคปราศจากเชื้อ (Sterile technique)
1.การกีดกั้นเชื้อชนิดไม่เคร่งครัด
การแยกผู้ป่วยที่เป็นภูมิติดต่อด้วยวิธีการแยกเฉพาะ
เทคนิคการทำให้สะอาด
เกิดจากการได้รับเชื้อขณะที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจรับการพยาบาล กีติดเชื้อของบุคลากรจากการปฏิบัติงานเกิดขึ้น 48-72 ชม เมื่อรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรคพยาบาล
ภาวะปลอดเชื้อ และเทคนิคปลอดเชื้อ
การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้
การล้าง (Cleansing)
วัตถุประสงค์
4.ช่วยลดอัตราในการหยิบจับอุปกรณ์ของเจ้าหน้าที่เป็นเบื้องต้น
2.เพื่อเป็นการลดสิ่งปนเปื้อนที่ติดอยู่บนผิวของเครื่องมือ
3.ความสกปรกที่ติดแน่นบางอย่าง ไม่สามารถจะหลุดได้
1.เพื่อลดจำนวนเชื้อโรคบนเครื่องมือให้เหลือปริมาณน้อยที่สุด
ข้อควรคำนึงในการล้าง
3.ไม่ทำให้อุปกรณ์เครื่องใช้สกปรกมากกว่าเดิม
2.ไม่ทำให้อุปกรณ์ เครื่องใช้ชำรุดเสียหายจากวิธีการทำความสะอาด
4.สารจากสบู่อาจมีฤทธิ์เป็นด่าง หากล่างออกไม่หมดจะช่วยเคลือบเชื้อจุลชีพไว้ ดังนั้นหลัจากทำความสะอาดแล้ว ไม่ควรมีสารตกค้างหลงเหลืออยู่
1.กำจัดเลือด หนอง เมือก สารคัดหลั่งและอื่น ๆ ออกก่อนทำความสะอาดเสมอ
การต้ม (Boilling)
การต้มเป็นวิธีการทำลายเชื้อที่ดี ง่าย ประหยัด และมีประสิทธิภาพ การเดือดนาน 10 นาที จะสามารถทำลายเชื้อได้ยกเว้นสปอร์ แต่สำหรับเชื้อโรคที่อันตราย WHO แนะนำให้ทำต้มเลือดนาน 20 นาทีเพื่อให้มั่นใจ
การเตรียมสิ่งของที่จะต้ม
2.แยกชนิดสิ่งของที่จะต้ม เครื่องมือ เครืองแก้ว ไม่ต้มด้วยกัน
3.เครื่องใช้มีคมไม่ควรต้ม เพราะจะทำให้เสียความคม
5.ของที่ต้มครบเวลาแล้ว ต้องเก็บไว้ในภาชนะที่ปราศจากเชื้อหรือสะอาดที่ฝาปิดมิดชิด
4.ของที่ใช้กับอวัยวะสะอาดไม่ควรต้มปนกับเครื่องมือที่ใช้กับอวัยวะสกปรกควรแยกหม้อ
1.สิ่งของที่จะต้มควรได้รับการทำความสะอาดดีแล้ว
หลักสำคัญในการต้ม
4.ขณะต้มไม่ต้องเปิดฝา
5.เมื่อครบกำหนดให้เก็บของที่ต้มแล้วลงในภาชนะที่ปราศจากเชื้อหรือสะอาดมีฝาปิดมิดชิด
3.ปิดผาหม้อต้ม เริ่มนับเวลาเมื่อน้ำเดือดเต็มที่
2.เครื่องมือที่มีน้ำหนักเบา ควรใช้เครื่องมือที่มีน้ำหนักหนักทับเพื่อให้จมน้ำ
1.น้ำต้องท่วมของทุกชิ้นอย่างน้อย 1 นิ้ว
การใช้สารเคมี (Chemical method)
Disinfectant หมายถึง สารเคมีหรือนำยาที่ใช้ทำลายจุลินทรีย์ แต่ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์ น้ำยานี้จะทำลายเนื้อเยื่อ ฉะนั้นจะใช้กับผิวหนังไม่ได้
Antiseptics หมายถึง สารเคมีที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ สามารถกับสิ่งมีชีวิตได้ปลอดภัย
น้ำยาที่ใช้ในการทำลายเชื้อโรค
6.น้ำยาฟีนอล ทำลายแบคทีเรีย เชื้อวัณโรค เชื้อรา ยกเว้น เชื้อตับอักเสบบีและสปอร์ของแบคทีเรีย ไม่ควรใช้กับทารกแรกเกิด
7.QACs Quartemary Ammonium Compounds มีฤทธิ์ทำลายเชื้อน้อย
5.ไฮโดเจน เปอร์ออกไซด์ (Hydrogen peroxide) สามารถทำลายเชื้อโรค และเชื้อไวรัส โดยใช้ hydrogen peroxide 6% นาน 30นาที
4.ฮาโลเจน (Halogens) สามารถทำลายเชื้อโรคได้ต่างกันตามความเข้มข้นของน้ำยา Hypochlorite และ lodine ทำลายสปอร์ของแบคทีเรียได้
3.ไดกัวไนต์ (Diguanide) สารทีใช้คือ Cholorhexidine ถ้าความเข้มข้นต่ำกว่า 0.2% ไม่สามารถทำลายแบคทีเรียแกรมบวก เชื่อไวรัสเชื้อรา และสปอร์ของแบคทีเรียได้
2.อัลดีฮัยด์ (Aldehydes) ทำลายเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส รา ใน 10 นาที ทำลายสปอร์แบคทีเรียใน 10 ชม ราคาแพง ระคายเคืองผิว ทางเดินหายใจตา
1.แอลกอฮอล์ (Alcohols) ทำลายเชื้อได้ดี แต่ไม่ทำลายสปอร์ อาจทำให้โลหะเกิดสนิม
การทำให้ปราศจากเชื้อ
วิธีทางเคมี
2.การใช้ 2% Glutaradehyde
Cidex เป็นสารเคมีที่ใช้กันมากที่ ทำให้ปราศจากเชื้อและสปอร์ของแบคทีเรีย เป็นสารที่ไม่ทำลายยางหรือพลาสติก เช่นเครื่องมือที่มีเลนส์ เครื่องมือทางทันตกรรม เครื่องมือช่วยหายใจ และเครื่องมือมีคม
3.การใช้ Peracetic acid
Acetic acid กับ hydrogen peroxide มีคุณสมบัติในการกัดกร่อนสูง และต้องละลายในน้ำอุ่น ต้องใช้เวลาที่รวดเร็วคือ 35-40 นาที ที่อุณหภูมิ 50-55 องศาเซลเซียส
1.การใช้ก๊าซ Ethylene oxide
คุณสมบัติทำลายเชื้อสูง สามารถทำลายได้ทั้งไวรัส แบคทีเรีย รวมทั้งสปอร์ของแบคทีเรีย นิยมใช้ทำให้ปราศจากเชื้อในเครื่องมือ เครื่องใช้ที่ไม่สามารถทนความร้อน และความชื้นได้ เช่นพลาสติกโพลีแอทธีลีน เป็นต้น ประสิทธิภาพสุดสูงเมื่ออบก๊าซที่อุณห๓มิ 30 องศาเซลเซียส นาน 3 ชมและเก็บไว้ที่อุณหภูมิเป็นเวลา 5 วันหรือใช้เวลา 8 ชมภายใต้อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส
วิธีทางกายภาพ
1.Radiation
แสงอัลตราไวโอเลต สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย และไวรัสบางชนิด ไม่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสเอดส์ ในการทำลายเชื้อจะใช้เวลาประมาณ 6-8 ชม
2.Dry heat or hot air sterilization
สามารถทำลายเชื้อโดยใช้ความร้อนแห้งที่อุณหภูมิ 165-170 องศาเซลเซียส ระยะเวลาอย่างน้อย 3 ชั่วโมง เหมาะสำหรับเครื่องใช้มีคม ไม่เหมาะกับเครื่องผ้า และยาง
3.Steam under pressure
วิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ไม่เหมาะกับเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทนความร้อนสูงไม่ได้ อุณหภูมิที่ใช้ที่อยู่ระหว่าง 121-123 องศาเซลเซียส ภายใต้แรงกดดัน 15-17 ปอนด์/ตารางนิ้ว นาน 15-45 นาที
การหยิบจับของปราศจากเชื้อ
ขอที่ปราศจากเชื้อจะอยู่ในภาชนะที่มีฝาปิด ในห่อ เช่น หม้อนึ่งลำสี ก๊อส ถาดแช่เครื่องมือที่มีฝาปิด เมื่อจะหยิบจับของเหล่านี้ไปใช้ จะต้องรักษา ลักษณะยาว แช่อยู่ในประปุกที่แช่น้ำยา (Transfer forceps) หยิบ
วิธีการใช้ปากคีบหยิบของที่ปราศจากเชื้อ
เมื่อหยิบปากคีบออกจากภาชนะที่แช่ ต้องระวังไม่ให้ปากคีบแยกออกจากกัน
วิธีการหยิบของในหม้อนึ่งในอับหรือการแบ่งของที่สะอาดปราศจากเชื้อ
เมื่อเปิดฝา ถ้าต้องการจะวางกับโต๊ะให้หงายฝาขึ้น เพื่อป้องกัน ไม่ให้ขอบฝาสัมผัสกับโต๊ะ ถือไว้ให้คว่ำฝาลง เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อโรคจากอากาศตกลงไปที่ฝานั้น
ห้ามเอื้อมข้ามของ Sterile ของที่หยิบออกมาแล้ว แม้ว่าจะยังไม่ได้ใช้ก็ไม่ควรนำเช้าไปเก็บในหม้อนั้นอีก
หลักพื้นฐานของภาวะปราศจากเชื้อ
ดูแลให้ของปลอดเชื้อนั้นคงความปลอดเชื้อ
3.หลีกเลี่ยงการทำน้ำยากหกเปื้อนผ้า ห่อของปลอดเชื้อ จะทำให้อุปกรณ์ที่อยู่ในผ้าห่อเกิดการปนเปื้อน
4.หลีกเลี่ยงการพูดคุย ไอ จาม ข้ามกรายของปลอดเชื้อ เพราะเชื้อโรคมีโอกาสแพร่กระจากไปตามละอองอากาศ
2.การเทน้ำยาปลอดเชื้อ ให้ถือขวดน้ำยาสูงกว่า ภาชนะปลอดเชื้อประมาณ 6 นิ้ว ปวากชวดต้องไม่สัมผัสกับของใช้หรือภาชนะรองรับ ระวังน้ำยากระเด็น ทำให้เกิดการปนเปื้อน และน้ำยาต้องไหลจากปากขวดลงภาชนะโดยไม่ไหลเปื้อนลงข้างขวดก่อนลงภาชนะ
5.อุปกรณ์ที่จะต้องสอด ใส่ผ่านผิวหนังเข้าไปในร่างกายผู้ป่วย จะต้องปลอดเชื้อ
1.ปากคีบปลอดเชื้อ (Transfer forceps) ใช้สำหรับหยิบจับ เคลื่อนย้ายของปลอดเชื้อต้องสะอาดและคงความปลอดภัยตลอดเวลา
6.เทน้ำยา วางของปลอดเชื้อไม่ควรชิดขอบด้านนอกของภาชนะ หรือผ้าห่อ วางห่างจากของนอกของภาชนะ หรือผ้าห่อของปลอดเชื้อถัดเข้ามาประมาณ 1 นิ้ว
7.การเปิดห่อผ้าของปลอดเชื้อให้จับที่มุมบนสุดของผ้าเปิดไปทางด้านตรงกันข้ามกับผู้ทำ ต่อมาเปิดมุมผ้าด้านข้าง ซ้าย-ขวาก่อน สุดท้ายถึงจับมุมผ้าด้านในสุดของห่อ
ห่อของส่งนึ่ง
การเปิดห่อของที่ปราศจากเชื้อ
จุดประสงค์ เพื่อคงความปลอดเชื้อของของภายในห่อและผ้าห่อด้านใน
การล้างมือ
วิธีที่ห่อของส่งนึ่ง
1.คลี่ผ้าห่อของบนโต๊ะ สูงระดับเอวให้มุมใดมุมหนึ่งอยู่ด้านผู้ห่อ
2.วางของไว้ที่ศูนย์กลางของห่อ
3.จับมุมผ้าด้านผู้ห่อวางพาดบนของ และพับมุมกลับเล็กน้อย
4.ดึงผ้าให้เรียบตึง ด้านซ้ายให้มิดของ ดึงให้ตึง และพับมุมเล็กน้อย
5.ห่อด้านขวาให้มิดของ ดึงให้ตึงพับมุมเช่นกัน เข้าเล็กน้อย
6.จับผ้าที่เหลือมุมสุดท้าย ดึงให้ตึงพับมุมเข้าเล็กน้อยจัดห่อให้มิดชิดไม่หลุด
7.ตรึงห่อของให้แน่นด้วยเทปกาวและระบุหอผู้ป่วย ชื่อสิ่งขิง วันที่ส่งนึ่ง และชื่อผู้ห่อของ
8.ติด Autoclave tape
การล้างมือ
การล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล
การล้างมือก่อนปฏิบัติการพยาบาลที่ใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและภายหลัง
การล้างมือแบบธรรมดา
ล้างมือตามขั้นตอนด้วยสบู่ก้อน หรือสบู่เหลวใช้เวลาในการฟอกมือนานอย่างน้อย 15 วินาที
ถุงมือ
ถุงมือจะช่วยป้องกันการติดต่อของเชื้อโรคทั้งทางตรงและทางอ้อม ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการใส่ถุงมือไว้ 3 ประการคือ
1.ป้องกัน ควบคุมเชื้อโรคจากตัวเราไปสู่ตัวผู้ป่วย จากผู้ป่วยไปสู่คนอื่น
2.ป้องกัน ควบคุมเชื้อโรคจากคนอื่นปสู่ผู้ป่วย
3.ป้องกัน ควบคุมผู้สัมผัสเชื้อเป็นเป็นพาหะน้ำเชื้อไปสู้ผู้อื่น
ถุงมือปลอดเชื้อ
1.หยิบจับของปลอดเชื้อ
2.ทำหัตถการต่างๆ เช่นการผ่าตัด
3.ป้องกันการติดเชื้อไปยังผู้ที่เยงต่อการติดเชื้อ
การปฏิบัติที่ปลอดภัยจากการใช้ของมีคม
2.เข้มที่ใช้เจาะเมือดผู้ป่วยให้เก็บทิ้งคนเดียว
3.การเย็บแผลให้ใช้ forceps หยั่งแผลเวลาเย็บ
1.ไม่ส่งของมีคมด้วยมือต่อมือ
4.การปลดหลอดแก้วออกจากสายยาง ให้ใช้ forceps ปลด
5.ไม่ควรสวมปลอดเข็มคืน แต่ถ้าจำเป็นต้องสวม ควรสวมปลอกเข็มโดยใช้มือเดียว
การป้องกันการแพร่ประจากเชื้อ
การติดเชื้อที่แพร่กระจากได้ทางละอองในอากาศ
1.แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกและปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
2.ผู้ที่จะเข้ามาใช้ห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก จมูก ชนิด N95
3.สวมถุงมือชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้ง ทุกครั้งที่สัมผัสผู้ป่วย
การติดเชื้อที่แพร่กระจากได้จากการสัมผัส
1.แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกและปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
2.สวมถุงมือทุกครั้งเมื่อสัมผัสผู้ป่วยทั้งบุคลากรและญาติ
3.ล้างมือแบบ hygienic handwashing หลังถอดถุงมือและก่อนจากห้องแยก
หลักการ Standard precaution
1.สวมเครื่องป้องกัน ตามความเหมาะสม
2.ระวังการบาดเจ็บจากเข็มและของมีคมต่างๆ
3.บุคลากรเมื่อมีบาดแผล หรือรอยถลอกควรหลีกเลี่ยงสัมผัสผู้ป่วยโดยตรง
4.ต้องล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังการใช้ทุกครั้งในการปฏิบัติงาน
เทคนิคการแยก
เพื่อจำกัดการแพร่กระจายของเชื้อโรคจากผู้ป่วยสู่บุคคลอื่น หรือจากบุคคลอื่นไปสู่ผู้ป่วย
จุดประสงค์ในการแยกผู้ป่วย
2.ป้องกันการติดโรคจากผู้ป่วย
3.ป้องกันการซ้ำเติมโรค
1.ป้องกันการแพร่กระจายโรคติดต่อ
การแยกผู้ป่วยอาจจำแนกออกเป็น 7 แบบ
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรงและติดต่อง่าย
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางเลือด น้ำเหลือง
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางบาดแผลและผิวหนัง
การแยกผู้ป่วยในรายที่สงสัยว่าจะเป็นโรคติดต่อ
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางระบบทางเดินอาหาร
การแยกผู้ป่วยในรายที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางระบบหายใจ