Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม,…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด
การพยาบาลเมื่อจำหน่ายกลับบ้าน
เป็นการวางแผนการพยาบาลเพื่อเตรียมตัวกลับบ้าน
ประเมินผู้ให้การดูแล (care giver) ตัวของสตรีตั้งครรภ์
การพยาบาลขณะอยู่โรงพยาบาล
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ดูแลให้งดอาหารและน้ำทางปาก
ดูแลให้ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ
เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
ฟัง FHS ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการ On EFM
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
การพยาบาลขณะผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยการติดเครื่อง EFM ระหว่างการผ่าตัด
จัดท่าในการผ่าตัด
การดูแลหลังการผ่าตัด
เฝ้าระวังภาวะ preterm labor
ประเมินและบันทึก FHS
ดูแลให้ได้รับยา tocolysis
ให้การพยาบาลเหมือนผู้ป่วยหลังผ่าตัดทั่วไป
การประเมินทางการพยาบาล
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ภาวะลำไส้อุดกั้น
(Bowel obstruction)
การตอบสนองขั้นแรก (First responder)
จัดท่านอน supine
บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
แจ้ง maternal cardiac arrest team
chest compressions
การตอบสนองขั้นต่อมา (Subsequent responders)
การปฏิบัติการพยาบาลทางสูติศาสตร์ (Obstetric interventions)
การเตรียมพร้อมเพื่อผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องกรณีฉุกเฉิน
การปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือมารดา (maternal interventions)
ค้นหาและดูแลรักษาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น (BEAU-CHOPS)
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก
(Uteri tumor)
ชนิด
Myoma Uteri
ก้อนของกล้ามเนื้อที่จับตัวเป็นก้อนกลมๆ
Adenomyosis
เป็นภาวะที่เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญเข้าไปในกล้ามเนื้อมดลูก
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายคลำพบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์ คลำท่าทารกได้ไม่ชัดเจน
การตรวจพิเศษ
การซักประวัติ โดยเฉพาะประวัติทางนรีเวช
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
แท้ง
อาการปวดท้องรุนแรงมากขึ้น
ระยะคลอด
มีโอกาสผ่าตัดคลอดคลอดทางหน้าท้อง
คลอดยาก
ระยะหลังคลอด
การหดรัดตัวกล้ามเนื้อมดลูกภายหลังคลอดไม่ดี
ตกเลือดหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
ไม่ค่อยแสดงอาการ
ปวดท้อง
ภาวะเลือดออกขณะตั้งครรภ์
ตรวจครรภ์พบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
คลำท่าทารกได้ยาก
การรักษา
การผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic myomectomy)
ชิ้นเนื้อที่ได้จากการผ่าตัดให้นำส่งตรวจพยาธิวิทยา
หากก้อนยังใหญ่ไม่มาก ไม่มีความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
การบาดเจ็บระหว่างการตั้งครรภ์
(Trauma during pregnancy)
ชนิดของการบาดเจ็บที่พบระหว่างการตั้งครรภ์
อุบัติการณ์ของปัญหาความรุนแรงกับสตรีที่สูงขึ้น
อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ความเสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์ได้รับบาดเจ็บ
ทารกตายในครรภ์
มดลูกแตก
ทารกตายคลอด
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการบาดเจ็บ
Major trauma
ภายหลังการช่วยฟื้นคืนชีพสำเร็จ
กรณีที่สตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ
ให้การดูแลตามกระบวนการเศร้าโศกและสูญเสีย
ช่วยฟื้นคืนชีพแบบ ABCs ควรประเมินแบบ systematic evaluation
Immediate care
การช่วยฟื้นคืนชีพควรช่วยชีวิตมารดาเป็นอันดับแรก
ทีมให้การพยาบาลต้องทำการประเมินอย่างรวดเร็ว
การพยาบาลควรคำนึงถึงการตั้งครรภ์ร่วมกับการรักษา
Minor trauma
FHR เปลี่ยนแปลง
พบ fetal cell ใน maternalcirculation
Hypovolemia
Leakage of amnioticfluid
Abdominal tenderness, abdominal pain or cramps
Fetal activity หายหรือลดลง
Bleeding/vg., uterine irritability
พยาธิวิทยา
การได้รับการบาดเจ็บที่ศีรษะของมารดา (head injury)
การตกเลือดในช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์ (retroperitoneal hemorrhage)