Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กที่มีภาวะคีโตนคั่ง DKA, นางสาวศิรภัทร ตุดเอียด เลขที่81, download (9)…
เด็กที่มีภาวะคีโตนคั่ง DKA
ความหมาย
เป็นภาวะฉุกเฉินที่มีระดับน้ าตาลในเลือดสูงและเกิดภาวะ
กรดเมตะบอลิคจากการที่มีกรดคีโตนคั่งในร่างกายภาวะนี้พบได้ทั้งในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่1และชนิดที่2ซึ่งมีปัจจัยชักนำร่วมด้วย
เช่น ภาวะติดเชื้อ การผ่าตัดหรือได้รับอุบัติเหตุ
พยาธิ
ขาดอินซูลิน
ลดการใช้กลูโคส และเพิ่มการสร้างกลูโคส
ปัสสาวะบ่อย
ภาวะขาดน้ำและเกลือแร่
ปริมาณไหลเวียนเลือดเพิมขึ้น
ความดันโลหิตต่ำ
เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ภาวะช็อค
เมตาบอลิซึมของไขมันและโปรตีนเพิ่มขึ้น
คีโตนเพิ่มขึ้น
กรดไขมันและกรดอะมิโน เพิ่มขึ้น
ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
อาการและอาการแสดง
กระหายน้ำมาก (polydipsia)
ถ่ายปัสสาวะบ่อย (polyuria)
อ่อนเพลีย
คลื่นไส้ อาเจียน (Nausea / vomiting)
ปวดท้อง (Abdominal pain)
หายใจเร็ว (Tachypnea) ในรายที่มีภาวะกรดอย่าง
รุนแรง ถ้าไม่ได้รับการแก้ไข จะมีการหายใจหอบแบบ
kussmual breathing (deep respiration)
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia)
ความดันโลหิตต่ำ (Hypotension)
ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึม หมดสติ
สาเหตุ
เกิดขึ้นได้ทั้งในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่1และชนิดที่2 แต่มักเกิดขึ้นในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่1ได้ง่ายและบ่อยกว่าเนื่องจากมีภาวะขาดอินซูลินที่รุนแรงกว่าปัจจัยชักนำได้แก่ การขาดยาลดระดับน้ำตาล
มีโรคที่ก่อภาวะเครียดต่อร่างกาย เช่น ภาวะติดเชื้อ การได้รับอุบัติเหตุ หัวใจวาย โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดได้รับยาบางชนิดเช่น thiazide, steroid
การพยาบาล
-ข้อวินิจฉัย มีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากร่างกายมีภาวะ ketoacidosis
-วัตถุประสงค์การพยาบาล:ร่างกายได้รับพร่องออกซิเจนอย่างเพียงพอ
-การพยาบาล
ประเมินภาวะพร่องออกวฺเจน เช่น หายใจลำบาก ปลายมือปลายเท้าเขียว Sp02 < 95%
ดูแลให้ทางเดินหายใจโล่ง เช่นให้นอนศีรษะสูง ดูดเสมหะ
ให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษาแพทย์
ให้ได้รับาสรน้ำตามแผนการรักษาแพทย์
ประเมินสัญญาณชีพทุกๆ 4 ชม.
-ข้อวินิจฉัย มีภาวะไม่สมดุลน้ำและ electrolyte เนื่องจากมีระดับน้ำตาลและ ketone ในเลือดสูง
-วัตถุประสงค์การพยาบาล:ร่างกายมีภาวะสมดุลน้ำและ electrolyte
-การพยาบาล
1.ประเมินสภาพของการมีน้ำตาลและ kctone ในกระแสเลือดสูง ได้แก่ ซึม กระหายน้ำ ปัสสาวะบ่อย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเขียน ปวดท้อง กคเจ็บบริเวณหน้าท้อง ลมหายใจมีกลิ่นผลไม้ (acetone) หายใจ หอบลึก ถ้ำพบอาการผิดปกติคังกล่าวให้รีบรายงานแพทย์
ตรวจดิดคามสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว ทุก 15 นาที - 1 ชม. ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค ถ้าพบผิดปกติรายงานแพทย์
ชั่งน้ำหนักตัวเมื่อแรกรับและทุกเช้าด้วยเครื่องชั่งเดียวกัน
สังเกตและจดบันทึกปริมาณน้ำเข้าและออกทุกชั่วโมง
งคอาหารทางปากในระะแรก เมื่อระดับน้ำตาลต่ำกว่า 300 mg และผู้ป่วยรู้สึกตัวคีจึงให้อาหาร
ตรวจความดึงตัวของผิวหนังและความชุ่มชื้นของดา รวมถึงเชื่อบุ ทุก 2 ชม. ในช่วง 12 ชม.เเรก
-ข้อวินิจฉัย มีโอกาสเกิดการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำตาลในกระแสเลือด สูงหรือต่ำกว่าปกติ เนื่องจากการขาดอินซูลินหรือได้รับมากเกินไป
-วัตถุประสงค์การพยาบาล:ระดับน้ำตาลในเลือดคงที่
-การพยาบาล
1.ประเมินสภาพระดับมีน้ำตาลในเลือด ว่ามีค่าผิดปกติหรือไม่ ถ้ามีให้รีบรายงานแพทย์ทันที
เฝ้าภาวะผิดปกติของน้ำตาลในเลือด ถ้าสูง เช่น ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำบ่อย ถ้าต่ำ เช่น ใจสั่น หงุดหงิด ปวดศีรษะ ตาพร่ามั่ว
ดูแลให้เด็กได้รับอินซิลินตามแผนการรักษาแพทย์
ติดตามผลจากห้องตรวจปฏิบัติการ
นางสาวศิรภัทร ตุดเอียด เลขที่81