Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพ การรู้สติ การรับรู้ความรู้สึกและการเคลื่อนไหว - Coggle Diagram
พยาธิสรีรภาพ การรู้สติ การรับรู้ความรู้สึกและการเคลื่อนไหว
การทำงานของระบบประสาท
เซลล์พี่เลี้ยงค้ำจุน(Neuroglia)
เซลล์เอเพนไดมัล(Ependymal cell)
เซลล์ไมโครเกลียล(Microglial cell)
แอสโตรไซด์(Astrocyte)
เซลล์โอลิโกโดรไซต์(Oligodendrocyte cell)
เนื้อเยื่อประสาท(Nervous tissue)
วิถีประสาท(Nrerve pathway)
Retinohypothalamic tract
Dorsal column-medial lemniscus tract
Spinothalamic tract pathway
Posteriolumn-medial lenniscus pathway
Pyramidal/corticospinal tract
เซลล์ประสาทและการส่งสัญาณประสาท
ตัวเซลล์ประสาท(Cell body : soma)
แขนงประสาท(Cell processes
ชนิดของเซลล์ประสาท
2.เซลล์ประสาทประสานงาน(Internueron)
3.เซลล์ประสาทสั่งการ(motor nueron)
1.เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(Sensory Nueron)
การส่งสัญญาณประสาท
เซลล์ก็จะปิดช่องแคลเซียมที่เปิดปิดโดยศักย์ไฟฟ้า
ไออนแคลเซียมไหลเข้ามาในปลายแอกซอน
ศักยะงานวิ่งมาถึงปลายเอกชน
แคลเซียมจะทำให้ ถุง"ซแนปส์(Synaptic vesicle) จำนวณหนึ่งที่เต็ม ไปด้วยโมเลกุลสารสื่อประสาท
ปล่อยสารเข้าไปในไซแนปส์
ระดับแคลเซียมที่สูงขึ้นในไซโทพลาซึมที่ปลายแอกซอน ยังจุดชนวนให้ไมโทคอนเดรียดูดซึมแคลเซียม
สารก็จะแพร่ข้ามร่องไซแนปส์และออกฤทธิ์กับตัวรับของนิวรอนหลังไซแนปส์
การรับความรู้สึก Sensory system
การรับความรู้สึก พิเศษ(Special Sensation) การรับความรู้สึก ได้แก่ คือ
การได้รับรสชาติ
อาหาร
การได้รับกลิ่น
การได้ยินเสียง
ความผิดปกติของการได้ยิน
การได้ยินเสียงหึ่งในหู(Tinnitus) เนื่องจากถูกกรบโดยเสียงจาก สิ่งแวดล้อมและชนิดได้ยินทั้งผู้ตรวจและผู้ป่วย
การได้ยินดังกว่า ปกติ(Hyperacusis) เมื่อมีความผิดปกติ ของCNVII ทำให้ในชั้นหูกลางซึ่งทำหน้าที่ลดความรุนแรงของเสียง เสียหาย
1.Conductive hearing loss เกิดจากการขัดขวางคลื่นเสียงผ่านช่อง เยื่อแก้วหูและกระดูกทั้ง3ชิ้น การรักษาได้แก่ การให้ยาปฏิชีวนะ การผ่าตัดตกแต่ง
2.Sensoryneural heariing loss เกิดจากความผิดปกติของ snesory receptor คือ hair cell และความผิดปกติของวิถีประสาท
3.Central hearing loss เกิดจากพยาธิสภาพที่ Auditory cortex ทำให้ไม่รับรู้เสียงที่จำเป็นต่อการได้ยิน
อาการแสดงของการเสียการทรงตัว
Unteadiness การเสียการทรงตัวแบบเสียศูนย์เนื่องจากปัญหาการยืน
Dizziness เป็นอาการไม่สบายอย่างมาก คิดอะไรไม่ออก สอมงตื้อ
Vertigo เป็นความรูกสึกว่ามีการหมุนที่จริงแล้วไม่มีการหมุนใดๆเลย
3.Lighteadedness มีอาการหวิวๆลอยๆคล้ายจะเป็นลม จะมีอาการเมื่อเปลี่ยนอิริยบถ
การมองเห็น
กลไกการมองเห็น
2.การส่งผ่าน(Transmission)ศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นนี้ไปตามวิถีประสาทการมองเห็น
3.การแปลหรือ วิเคราะห์ข้อมูล(Translation)ที่ได้ภาพว่า เห็นเป็นภาพอะไร
1.การกระตุ้น(Stimulation) ที่ตัวรับ(Photoreceptor)ในจอรับภาพโดยแสงแล้วเกิดศักย์ไฟฟ้า
ภาวะสายตาปกติ
สายตายาว ภาวะที่มองเห็นเฉพาวัตถุไกลเท่านั้น
สายตาเอียง เป็นภาวะผิดปกติของสายตาเนื่องจากมีการหักเหของแสงไม่เท่ากันในมุมแนวราบ
สายตาสั้น ภาวะที่มองเห็นเฉพาะวัตถุใกล้เท่านั้น
ความผิดปกติที่เกี่ยวกับการมองเห็นที่พบบ่อย
ต้อกระจก(Cataract)เกิดจากเลนส์เสื่อมสูญเสียสภาพโปร่งแสงเกิดการขุ่นขาวทำใหเเกิดการมองเห็นลดลง
ต้อหิน(Glaucoma) เป็นภาวะหรือกลุ่มอาการของโรคที่มีความดันลูกตาสูงกว่าปกติทำให้ขั้วประสาทตาเสื่อมและมีผลทำให้เกิดความบกพร่องของลานสายตา
การรับรู้สมดุลของร่างกาย
การรับความรู้สึกทั่วไป(Somatis Sensation)หมายถึง การรับความรู้สึกทั่วๆไปของร่างกายทั้งภายในและภายนอก
การรับความรู้สึกจากกล้ามเนื้อ และข้อต่อ(Proprioception)
การรับความรู้สึก จากการสัมผัส(touch)
การรับรู้วัตถุใน ด้านรูปร่างหนัก(Stereognosis)
การรับความรูกสึกเกี่ยวกับอุณหภูมิ(temperature)
การรับความรู้สึกเกี่ยวกับการเจ็บป่วย(Pian)
Glasgow coma Scale
motor Response
3.Abnormal flexion
4.Flex to withdraw frow pain
2.Abnormal extesion
5.Moves to localises pain
No response
6.Obeys Command
Verbal Response
3.Inappropiate words
4.Confused
2.Incomprehensible sounds
5.Oriented to time,person place
No response
Eye Opening Response
To pain
To speech
No response
4.Spontaneously
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ปฏิกริยาการปรับตัวและความผิดปกติของการรู้สติการรับความรู้สึก การเคลื่อนไหวและการนอนหลับพักผ่อน
การประเมิน
M=รีเฟล็กซ์ของการทำงานก้านสมองโดยการตรวจการตอบสนองของรูม่านตา
B=รีเฟลกซ์ของการทำงานของก้านสมองโดยการตรวจการตอบสนองของรูม่านตา
E=การตอบสนองของตา
R=ลักษณะการหายใจ
กลไกการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างและหน้าที่ปฏิกริยาและการปรับตัวของระบบประสาทสั่งการ
ความผิดปกติของประสาททั่วไปที่พบบ่อย(Neuro Pathology)
Pakinson
เกิดการเสียหน้าที่ Basal Ganglia ทำให้การหลั่ง DopaminจากSubstaintia Nigra ลดลงโดยเป็นความผิดปกติของการส่งผ่านของประสาทสั่งการ
Stroke
ภาวะสมองเสื่อม(Dementia)
Myasthenia Gravis (Mg)
การบาดเจ็บที่ศรีษะ(Tarumatic brain injury)
คำสั่งเดินทางจาก Cerebral cortex ที่ Brain stem
ผ่าน Axon
Cell สมอง
ระบบประสาทอัตโนมัติ(Autonomic Nervous System : ANS
บทบาทสำคัญ คือ ควบคุมการทำงานของร่างกายภายนอกอำนาจจิตใจที่เกิดจากการกระตุ้นด้วยการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมภายในการตอบสนองเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อมต่างๆ ไฮโปรทารามัสควบคุมการทำงานของANSและต่อมไร้ท่อเพื่อรักษาความคงสภาพของร่างกายไว้โดยการทำงานของไฮโปรทารามัสอาศัยข้อมูลนำเข้าจากโครงสร้างหลายส่วนประมวล