Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 บริบททางวัฒนธรรม, นางสาวภัทรวดี เลียลา เลขที่ 27 รหัสนิสิต…
หน่วยที่ 2
บริบททางวัฒนธรรม
ประเภท
ของวัฒนธรรม
แบ่งตามลักษณะความ
สัมพันธ์ต่อการดำเนินชีวิต
เนติธรรม (Legal Culture)
วัตถุธรรม (Material Culture)
คติธรรม (Moral Culture)
สหธรรม (Social Culture)
แบ่งตามผลิตภัณฑ์
ทางความคิดสร้างสรรค์
ของมนุษย์
วัฒนธรรมสุนทรียะ (Aesthetic)
วัฒนธรรมแบบบริรักษ์ (Control)
วัฒนธรรมอุปนัย (inductive)
ลักษณะ
ของวัฒนธรรม
เป็นมรดกของสังคม วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงความยิ่งใหญ่
เป็นวิถีชีวิตหรือแบบแผนการดำเนินชีวิต
เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องอำนวยประโยชน์ในการดำเนินชีวิต
เป็นสิ่งที่มีการเปลี่ยนอยู่เสมอในบริบทสังคมมนุษย์เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา
เป็นที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ วัฒนธรรมไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
กระบวนการเรียนรู้
วัฒนธรรมแม่ (Enculturation)
รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการสังเกต และเลียนแบบ (informal)
เน้นการเรียนรู้ผ่านการสังเกตและทำตาม
รูปแบบการเรียนรู้โดยมีการสอนแบบเป็นระบบ (technical)
การเรียนประเภทนี้มักเกิดขึ้นที่โรงเรียนโดยมีครูเป็นผู้สอน มีการสอนเป็นขั้นตอนอย่างมีระบบ
รูปแบบที่มีการเรียนรู้โดยมีการสอนแบบไม่เป็นระบบ (formal)
เป็นการเรียนรู้โดยการสื่อสารด้วยคำพูดเป็นส่วนใหญ่
การสร้างความตระหนักทางวัฒนธรรมกับกระบวนการเรียนรู้วัฒนธรรมแม่
แนวคิดแบบเอาใจเขามาใส่ใจเรา (Empathy)
การยึดมั่นถือมั่น
ชาตินิยมและความลุ่มหลงในชาติพันธุ์ (Nationalism and Ethnocentrism)
ยุคมาลานำไทย
ทฤษฎีชุมชนในจินตนาการ (imagined community)
ของเบเนดิก แอนเดอร์สัน (Benedict Anderson)
กระบวนการเรียนรู้และการปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมใหม่
Excitement/Honeymoon Stage
เป็นระยะแรกที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลเริ่มเข้าสู่วัฒนธรรมใหม่
Depression/Avoidance Stage
เมื่อระยะแรกสิ้นสุดลง บุคคลจะเริ่มตระหนักว่ามี
ความแตกต่างมากมายที่เขารู้สึกด้อยในสิ่งแวดล้อมใหม่
Gaining Ground/Near Recovery Stage
เมื่อเวลาผ่านพ้นไป บุคคลจะค่อยๆ สามารถปรับตัว
เข้ากับขนบธรรมเนียมของประเทศเจ้าบ้าน
Adjustment/Full Recovery Stage
เมื่อผ่านพ้นระยะที่เริ่มยอมรับสิ่งต่างๆ ได้แล้ว บุคคลจะเข้าสู่ระยะขั้นตอนการปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมใหม่ได้
อย่างสมบูรณ์
บริบททางวัฒนธรรมและค่านิยม
ที่มีผลกระทบต่อการกำหนดนโยบายและแผนการศึกษา
ชาติพันธุ์ ภาษา และศาสนาของ
คนในสังคมและท้องถิ่น
ระเบียบ ประเพณีและพฤติกรรมของคนในสังคม
ค่านิยมร่วมของสังคม (Social Core-Values) และค่านิยมของท้องถิ่น
(Local Values)
ศาสนา
บริบททางวัฒนธรรม
การรวมของประเทศในแต่ละภูมิภาคของโลกและในสังคม
ศิลปะ วัฒนธรรมและมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนและประเทศ
การแพร่กระจายของวัฒนธรรมและค่านิยมจากสังคมต่างประเทศในยุคโลกาภิวัตน์หรือยุคการสื่อสารไร้พรมแดน
สถาบันทางสังคม
การปรับตัวของชุมชน
นิยามและองค์ประกอบ
ของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมคือภาษาที่คนในชาติใช้ร่วมกัน
(Culture is language that people of the same nation share.)
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ
(Culture is what people inherited from their ancestors.)
วัฒนธรรมบอกถึงความเป็นชาติของกลุ่มชนนั้น
(Culture will tell which nation the person belongs to.)
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่พึงรักษาไว้ให้คนรุ่นต่อไป
(Culture has to be preserved for future generations.)
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่พึงรักษาไว้ให้คนรุ่นต่อไป
(Culture has to be preserved for future generations.)
การนิยามคำว่า วัฒนธรรม ภาษา และบุคลิกลักษณะ โดยเอ็ดเวิร์ดซาเฟียร์
วัฒนธรรม (culture)
วัฒนธรรมหลัก (dominant culture) และวัฒนธรรมรอง (sub-culture)
ภาษา (language)
เครื่องมือในการสื่อสาร “The language of one society also represents the “real world” of that society.” หมายความว่าเรา
สามารถรับรู้ถึงวัฒนธรรมของกลุ่มชนได้จากการศึกษาภาษา
ของสังคมนั้น
บุคลิกลักษณะ (personality)
เผยว่าคนนั้นคนนี้มีลักษณะนิสัยอย่างไรบ้าง
นางสาวภัทรวดี เลียลา เลขที่ 27 รหัสนิสิต 61206678 sec 19