Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ - Coggle Diagram
เทคนิคการจัดการเรียนรู้
การบรรยาย
การบรรยายเป็นการพูด การเล่า หรือการบรรยายเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้ผู้เรียนฟังเพื่อให้เกิดแนวคิดในด้านต่าง ๆ ตามความเป็นจริง
ลักษณะของการบรรยายที่น่าสนใจ
1.การบรรยายโดยใช้สื่อประกอบแบบต่าง ๆ
2.การบรรยายที่มีตัวอย่างประกอบ
3.การบรรยายที่ใช้หนังสือประกอบเป็นตอนสั้น ๆ
4.การบรรยายแบบเปิดโอกาสให้ผู้เรียนถามหรือแสดงความคิดเห็น 5.การบรรยายประกอบการสาธิต
6.การบรรยายที่เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมอื่น
ลักษณะการบรรยายที่ดี
1.ควรให้ผู้เรียนทราบจุดประสงค์ของการเรียน
2.มีสื่อประกอบการบรรยาย
3.มีเอกสารประกอบการบรรยาย
4.จัดเนื้อหาให้พอเหมาะกับเวลาที่จะใช้สอน
5.ครูควรสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนขณะฟังครูบรรยายว่ามีข้อข้องใจหรือไม่
6.ครูควรบรรยายด้วยน้ำเสียงชัดเจน
วิธีการดำเนินการบรรยาย
1.ขั้นเตรียมการ ครูกำหนดจุดประสงค์ของการสอน
2.ขั้นการบรรยาย ครูบรรยายเนื้อหาบทเรียนตามลำดับ
3.ขั้นสรุป ให้ผู้เรียนร่วมกับครูสรุปเนื้อหาร่วมกัน
โอกาสที่ควรใช้การบรรยาย
1.เพื่อแนะนำหรือเสนอเนื้อหาบทเรียนใหม่
2.เพื่อประหยัดเวลาในการทดลองหรือค้นคว้า
3.เพื่อสรุปหลักเกณฑ์และความคิดรวบยอดที่สำคัญ
4.เพื่อเร้าความสนใจของผู้เรียน
5.เมื่อต้องการปูพื้นฐานให้ผู้เรียนไปค้นคว้าเพิ่มเติม
การสาธิิต
ลักษณะของการสาธิต
1.การสาธิตให้ดูพร้อมกันทั้งชั้น
2.การสาธิตให้ดูเป็นกลุ่ม 3.การสาธิตให้ดูเป็นรายบุคคล
วิธีดำเนินการสาธิต
1.ขั้นเตรียมการ ครูศึกษาเนื้อหาบทเรียน ตั้งจุดประสงค์ในการสอน เตรียมอุปกรณ์ประกอบการสาธิตให้พร้อมและซักซ้อมการสาธิต 2.ขั้นสาธิต ครูบอกจุดประสงค์ของการสาธิต
3.ขั้นสรุป โดยการอธิบายสั้น ๆ
-
โอกาสที่ควรใช้การสาธิต
1.เมื่อบทเรียนซับซ้อน
2.การปฏิบัติที่อาจก่อให้เกิดอันตรายถ้าไม่ระมัดระวัง
3.เมื่อมีอุปกรณ์การสอนไม่เพียงพอ
4.เมื่อมีเวลาน้อย
5.เมื่อต้องการให้ผู้เรียนได้สังเกต
วิธีแบ่งกลุ่มกิจกรรม
ประโยชน์ของการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
1.สร้างเสริมนิสัยที่ดี
2.สร้างเสริมการอยู่ร่วมกันแบบประชาธิปไตย
3.ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ฝึกการใช้ความคิด
กระบวนการทำงานกลุ่ม
1.ตำแหน่งหน้าที่ในกลุ่ม
2.ที่นั่งในกลุ่ม
3.การกำหนดงานให้กลุ่มทำ
4.การประเมินผลการทำงานของกลุ่ม
-
-
วิธีการแบบอนุมาน
โอกาสที่ควนใช้วิธีการแบบอนุมาน
1.เมื่อบทเรียนยาก ครูควรยกตัวอย่าง
2.เมื่อมีการทดลองที่ยุ่งยากซับซ้อน ครูต้องบอกผลการทดลอง 3.เมื่อต้องการประหยัดเวลาการสอน
ประโยชน์ของวิธีการแบบอนุมาน
1.ผู้เรียนได้ทราบหลักการล่วงหน้า
2.ให้โอกาสผู้เรียนที่จะพิสูจน์หลักการต่าง ๆ
3.ช่วยประหยัดเวลาสอน
-
วิธีการแบบอนุมานหรือนิรนัย เป็นวิธีสร้างความรู้ความเข้าใจโดยให้ผู้เรียนได้รับรู้หลักการ กฎ สูตร นิยาม เป็นการเรียนรู้จากส่วนรวมไปหาส่วนย่อย
การอภิปราย
ประโยชน์ของการอภิปราย
1.ได้แสดงความรู้ความคิด
2.ได้ทำงานเป็นกลุ่ม
3.ได้ศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม
4.เป็นวิธีการพัฒนาเจตคติความมีเหตุผล
โอกาสที่ควรใช้การอภิปราย
1.ใช้ในการรายงานผล
2.เมื่อต้องการให้วิจารณ์
3.เพื่อสรุปกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติไปแล้ว
-
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมอภิปราย
1.ครูต้องค่อย ๆฝึกเด็กให้อภิปรายไปทีละเล็กละน้อย
2.เมื่อต้องการให้วิจารณ์อาจใช้การระดมพลังสมอง
3.เพื่อสรุปกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติไปแล้ว หลังจากฝึกอาจใช้การอภิปรายหมู่
-
วิธีการแบบอุปมาน
วิธีดำเนินการแบบอุปมาน
1.ขั้นเตรียม เป็นขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
2.ขั้นสอน เป็นการให้ตัวอย่างต่าง ๆ
3.ขั้นเปรียบเทียบ ผู้เรียนลงมือทดลอง
4.ขั้นสรุป นำข้อสังเกตต่าง ๆ มาสรุปเป็นกฎเกณฑ์
โอกาสที่ควรใช้วิธีการแบบอุปมาน
1.เมื่อบทเรียนที่เกี่ยวกับหลักการไม่ยากเกินไป ผู้เรียนสามารถสรุปได้ด้วยตนเอง
2.เมื่อมีการทดลองง่าย ๆ ผู้เรียนสามารถสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงได้ด้วยตนเอง
3.เมื่อหลักการ กฎเกณฑ์ หรือข้อสรุปที่ผู้เรียนค้นพบนั้นสำคัญก็สามารถใช้เป็นพื้นฐานการเรียนเรื่องอื่น ๆ ได้
วิธีการแบบอุปมานหรืออุปนัย เป็นวิธีสร้างความรู้ความเข้าใจจากส่วนย่อยไปหาส่วนใหญ่ ผู้เรียนสังเกต คิดพิจารณาแล้วสรุปเป็นหลักการ
ประโยชน์ของการใช้วิธีการแบบอุปมาน
1.ช่วยให้ผู้เรียนค้นพบข้อเท็จจริง
2.ทำให้ผู้เรียนเข้าใจความหมาย
3.กระบวนการคิดแบบอุปมานช่วยให้ผู้เรียนค้นพบตัวเอง
การแสดงบทบามสมมุติ
ประโยชน์ของการแสดงบทบาทสมมุติ
1.เรียนรู้และเข้าใจสาเหตุของพฤติกรรม
2.เรียนรู้และเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น
3.ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าแสดงออก
4.ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติตนให้เหมาะสม
5.ช่วยให้ครูเข้าใจผู้เรียน
วิธีดำเนินการแสดงบทบาทสมมุติ
1.ขั้นเตรียมการ
2.ขั้นแสดง
3.ขั้นวิเคราะห์และอภิปรายผล
4.ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสรุป
เทคนิคและวิธีการในการแสดงบทบาทสมมุติ
1.การแลกเปลี่ยนบทบาท
2.การแสดงโดยมีลูกคู่
3.การแสดงบทบาทที่มีลูกคู่มากกว่า 1 คน
4.การแสดงบทบาทผสม
5.การหมุนเวียนบทบาท
6.การแสดงบทบาทสองบทบาท
รูปลักษณะของการแสดงบทบาทสมมุติ
1.การแสดงแบบเตรียมบทมาแล้ว
2.การแดสงโดยทันทีทันใด
3.การแสดงโดยกำหนดสถาการณ์ให้
การแสดงบทบาทสมมุติหมายถึง การสร้างบทบาทสมมุติและสถานการณ์สมมุติขึ้น ให้ผู้เรียนได้แสดงออกตามที่ตนคิดว่าควรจะเป็น
การทดลองปฏิบัติ
-
จุดมุ่งหมายของการทดลองปฏิบัติ
1.เพื่อการเรียนรู้หลักกการพื้นฐานที่สำคัญ
2.เพื่อฝึกทักษะ
3.เพื่อขยายความรู้หลักการ
4.เพื่อรวบรวมข้อมูลและแปลความ
-
วิธีดำเนินการทดลองปฏิบัติ 1.ขั้นเตรียมการ เป็นการวางแผนทั้งหมดเพื่อให้หารปฏิบัติได้ผล 2.ขั้นทดลองปฏิบัติ ผู้เรียนลงมือทดลองปฏิบัติ 3.ขั้นสรุปและประเมิน เสนอปลการทดลอง
โอกาสที่ควรใช้การทดลองปฏิบัติ
1.เมื่อการทดลองปฏิบัตินั้น ผู้เรียนสามารถทำได้เองโดยไม่เกิดอันตราย
2.มีอุปกรณ์และเครื่องมือเพียงพอให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ
3.เมื่อผู้เรียนมีทักษะการใช้เครื่องมือ และมีระเบียบวินัยดี
4.เมื่อบทเรียนนั้นจำเป็นจะต้องให้ผู้เรียนปฏิบัติด้วยตนเอง
การแก้ปัญหา
-
ขั้นตอนของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
1.กำหนดขอบเขตของปัญหา
2.ตั้งสมมุติฐานการแก้ปัญหา
3.ทดลองและรวบรวมข้อมูล
4.วิเคราะห์ข้อมูล
5.สรุปผล
-
บทบาทของครูในการสอนแบบแก้ปัญหา
1.เสนอปัญหาเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนร่วมกิจกรรม
2.ดูแลกระบวนการทำงานของกลุ่ม
3.สร้างบรรยากาศของชั้นเรียนให้เป็นประชาธิปไตย
4.ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีกำลังใจในการแก้ปัญหา
5.แนะนำแหล่งข้อมูลที่ผู้เรียนจะไปศึกษาได้ด้วยตนเอง