Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความหมายเเละความสำคัญของโครงกระดูก - Coggle Diagram
ความหมายเเละความสำคัญของโครงกระดูก
ความหมายเเละความสำคัญของโครงกระดูก
ความรู้ทางการเเพทย์เกี่ยวกับ ปวดข้อ ปวดขา ปวดเข่า ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เเละโรคกระดูกเเละข้อ โรคข้อ คือ โรคที่เกิดจากสาเหตุของข้อต่ิกระดูก หรือ กระดูกโรคนี้มักจะเกินขึ้นในผู้สูงอายุด้วยความเสื่อมของเเคลเซี่ยมในร่างการเเละการทำงานข้อหรือกระดูกมายาวนาน
คํ้าจุนโครงสร้างของร่างกาย
โรคเกี่ยวกับกระดูก
กระดูกอักเเสบ
โรคกระดูกพรุน
กระดูกหักเนื่องจากการบาดเจ็บ
เนื้องอกในสมอง
กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 206 ชี้น เเละคิดเป็น
20 % ของนํ้าหนักร่างกายอย่างไรก็ดีจำนวนกระดูกจะเเตกต่างกันไปแต่เเละบุคคลทารกเเรกเกิดจะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300 ชิ้น ซึ่งต่อมาจากกระดูกบางชิ้นจะมีการเชื่อมร่วมกันระหว่างการเจริญเติบโต
เป็นโครงสร้างประกอบในร่างกายภายในร่างกายประกอบไปด้วยโครงสร้างของข้อต่อ เอ็น กล้ามเนื้อ กระดูกอ่อน และอวัยวะต่างๆ
ทำหน้าที่ยึกกล้ามเนื้อเเละเอ็นต่างๆสำหรับการเคลื่อนไหว
ป้องกันอวัยวะภายในที่สำคัญเฃ่น กะโหลกศีรษะที่ห่อหุ้มสมอง หรือ ซี่โครงป้องกัน ปอด เเละหัวใจ จากการกระทบกระเทือน
การยึดต่อกันระหว่างโครงกระดูก
ข้อต่อเเบบเดือย (pivot joint ) ทำให้สามารถก้มเงยบิดไปทางซ้ายขวา เช่น ข้อต่อที่ต้นคอกับฐานกะโหลกศีรษะ
ข้อต่อเเบบลูกกลมในเบ้า(ball and socket joint) ทำให้การเคลื่อนไหวของร่างกาย ส่วนนั้นเป็นอิสระ ขยับได้หลายทิศทาง
ข้อต่อเเบบอานม้า (saddle joint) เป็นข้อต่อที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวบ้างส่วน เฃ่น ข้อต่อระหว่างกระดูกเเละฝ่ามือกับกระดูกนิ้วหัวเเม่มือ
ข้อต่อเเบบบานพับ (hinge joint) ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวในส่วงนั้นจำกัดได้ในทิศทางเดียว เหมื่อนกับการเปิด-ปิด ประตู เช่นข้อต่อบริเวณข้อศอก
ข้อต่อเเบบปุ่ม (condyloid joint) มีลักษณะคล้ายข้อต่อ เเบบลูกกลมในเบ้าเเต่เคลื่อนไหวได้น้อยกว่า เช่น ข้อต่อระหว่างกระดูก ฝ่ามือกับกระดูกนิ้วมือ
ข้อต่อเเเบบสไลด์ (gliding joint) เป็นกระดูกเเบน 2 ชิ้น เช่น ข้อต่อกระดูกข้อมือ ข้อต่อ กระดูกข้อเท้า เเละ ข้อ ต่อ กระดูกสันหลัง
อาการโรคกระดูก
มีอาการบวม
มีอาการปวด
เกิดอาการร้อนในบริเวณนั้น
มีอาการปวด
การดูเเลกล้ามเนื้อในร่างกายให้เเข็งเเรง
ออกกำลังกายบ่อยๆ หรือ การทำงานออกเเรง
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ให้สารอาหารบำรุงกล้ามเนื้อเเละกระดูกให้เเข็งเเรง
ลักษณะเเละจำเเนกกระดูก
เมื่อโตขึ้นกระดูกจะเเข็งเเรงกว่าเดิมเเละกระดูกบางข้างจะเชื่อมต่อกัน เช่น กระโหลกศีรษะ
โดยทารกเเรกเกิดที่กระดูกทั้งหมด 350 ชิ้น เเละจะมีลักษณะอ่อนนิ่ม
กระดูกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาเเละตลอดชีวิต
ผู้ใหญ่ที่มีอายุเติมวัยจะมีกระดูกทั้งหมด 206 ชื้น ซึ่งกระดูกจะมีความเเข็งเเรง