Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแก้ปัญหาความขัดแย้ง :silhouettes: :<3:, นายจิราเมธ ณ พัทลุง ม.6/3…
การแก้ปัญหาความขัดแย้ง :silhouettes: :<3:
ความหมายของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล 2 คนขึ้นไปซึ่งเกิดจากการมีค่านิยมความ
เชื่อและทัศนคติไม่สอดคล้องกัน
ความขัดแย้ง
สภาพที่บุคคลทังสองฝ่ายมีความคิดเห็นหรือความเชื่อไม่ตรงกัน และยังไม่สามารถหาข้อยุคิที่สอดคล้องได้
สาเหตุของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งระหวางบุคคล
สาเหตุ
วิธีการคิดขัดแย้งกัน
การรับรู้แตกต่างกัน
ความคิดเห็นต่างกัน
ค่านิยมแตกต่างกัน
อคติของแต่ละบุคคล
ผลประโยชน์
ความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว
สาเหตุ
ผู้สูงอายุปรับตัวไม่ทันความเจริญเติบโตของวัยรุ่น
ภาพรวมของพ่อแม่ผู้ปกครองสมัยวัยรุ่น
แตกต่างจากภาพรวมวัยรุ่นในปัจจุบัน
ค่านิยม สภาพเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีและแบบแผนวัฒนธรรมเปลี่ยนแปลงไป
ผู้ใหญ่ใช้ความคิด ความสามารถ ประสบการณ์ความรู้
ของตนเป็นมาตรฐานคาดหวังกับการกระทำของวัยรุ่น
บรรยากาศในครอบครัวที่สมาชิกในบ้านมีความสัมพันธ์
ต่อกันไม่ราบรื่น
สภาพความเป็นวัยรุ่นเป็นสาเหตุความขัดแย้งได้
ผลของความขัดแย้ง
เกิดความสะเทือนอารมณ์
ก่อให้เกิดความกระวนกระวายใจ
เป็นผลเสียต่อระบบการทำงานของร่างกาย
การขัดแย้งในครอบครัว
ผลของความแย้งระหว่างวัยรุ่นดับพ่อแม่
วิธีการจัดการความขัดแย้ง
ตรวจสอบความเข้าใจของอีกฝ่ายหนึ่ง
เปิดโอกาส
อธิบายปัญหากลับความต้องการของ ตนเองให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบ
ตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง
การนัดหมายเวลา
หาแนวทางที่จะจัดการกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
พิจารณาถึงปัญหา
ความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมชน
สาเหตุ
การอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างกัน
การมีผลประโยชน์ขัดกัน
การมีอคติ
ผลของความขัดแย้ง
ผลดี
สร้างความรู้สึกร่วมในปัญหาที่เกิดขึ้น
ก่อให้เกิดการเรียนรู้และปรับปรุงพฤติกรรมซึ่งกันและกัน
ตระหนักและรับรู้
ความขัดแย้งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
ช่วยเพิ่มวุุฒิภาวะให้กับเยาวชน
ผลเสีย
เกิดการต่อต้านทั้งทางลับและเปิดเผย
หากนักเรียนและเยาวชนเกิดการรวมตัวและใช้ความรุนแรงทะเลาะวิวาทเป็นเหตุให้เกิดความสูญเสีย
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเสื่อมลง
ผลกระทบด้านจิตใจ
อาจทำให้เกิดปัญหาอื่นๆตามมาทีหลัง
แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
การเจรจา
การใช้บุคคลที่สามมาเพื่อทำหน้าที่ในการช่วยไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้ง
การแก้ไขความขัดแย้งด้วยสันติวิธี ไม่ใช้ความรุนแรง
ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกันลดและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
การสื่อสารที่สร้างสรรค์
สื่อที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาพูด
ภาษาเขียน
ภาษากายหรือการแสดงออก
แนวทางที่จะสื่อสาร
สื่อสารให้ผู้อื่นรับรู้ความรู้สึกและความต้องการที่แท้จริง
ของเราอย่างจรืงใจโดยไม่ตำหนิหรือกล่าวโทษผู้อื่น
เข้าใจคนอื่นอย่างจริงใจทั้งในเรื่องที่เราเห็นและไม่เห็นด้วย โดยไม่ต้องยอมตามหรือประนีประนอมถ้าใจเราไม่เห็นด้วย
เข้าใจตนเองว่ารู้สึกและต้องการอะไร
ทักษะการสร้างสัมพันธภาพและทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
ทักษะในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อให้เกิดความมั่นคง
การเปิดเผยตนเองและไว้ใจซึ่งกันและกัน
การเล่าหรือบอกความไม่สบายใจของตนเองกับผู้อื่น
ความไว้วางใจ
ทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
ความใส่ใจ
การทวนเนื้อความ
ทักษะการฟัง
การสะท้อนความรุ้สึก
ความสามารถในการตัดสินใจกับการแก้ปัญหา
การเข้าใจปัญหา
ความหมายของปัญหา
สภาวะหรือสถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์
การประเมินสถานการณ์เพื่อเข้าใจปัญหา
ประเมินสภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
ความขัดแย้งระดับปานกลาง
ความขัดแย้งระดับน้อย
ความขัดแย้งมาก
ประเมินโดยการเปรียบทเียบ
ลองปฏิบัติต่อผู้อื่นเช่นเดียวกับที่ต้องการให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อเรา
ลองสวมบทบาทเป็นอีกฝ่าย
การเอาใจเขามาใส่ใจเรา
ประเมินโดยการสังเกตปฏิกิริยาจากผู้อื่น
การประเมินโดยการสังเกตปฏิกริยาตอบสนองของผู้อื่น
สังเกตจากคำพูดที่โต้ตอบ
การกระทำเป็นไปตามที่คาดหวังหรือต่อต้าน
สังเกตจากสีหน้าท่าทาง
การจัดระดับความสำคัญของปัญหาจากปฏิกิริยาตอบสนองของผู้อื่น ว่าจะเกิดปัญหามาก/น้อย
การโต้ตอบแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม
การที่เพื่อนในกลุ่มทำงานไม่ถูกอง
การแสดงสีหน้าไม่พอใจ
การเข้าใจปัญหาผ่านอริยสัจ 4
สมุทัย
หาสาเหตุปของปัญหา
ทุกข์
รู้ว่าปัญหาคืออะไร
นิโรธ
การกำหนดเป้าหมาย
มรรค
ปฏิบัติตามขั้นตอนที่วางไว้
นายจิราเมธ ณ พัทลุง ม.6/3 เลขที่ 2