Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดปัญหาการวิจัย - Coggle Diagram
การกำหนดปัญหาการวิจัย
การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ช่วยให้มองปัญหาที่จะทำวิจัยได้แจ่มชัดขึ้น
ช่วยให้ได้แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ศึกษา
ช่วยกำหนดวิธีการวิจัยที่เหมาะสม
ช่วยให้นิยามปัญหา ตัวแปร และขอบเขตการวิจัย
สร้างกรอบความคิดในการวิจัย
ช่วยตั้งสมมติฐานการวิจัย
ช่วยให้เลือกเทคนิคการสุ่มตัวอย่างได้เหมาะสม
ช่วยเหลือสถิติการวิเคราะห์ข้อมูล
ช่วยให้ได้แนวคิดในการแปลผล และอภิปรายผล
ช่วยให้ได้แนวทางในการเขียนรายงานการวิจัย
แหล่งข้อมูลของเอกสาร
บทคัดย่อรางานการวิจัย
รายงานการวิจัยหรือวิทยานิพนธ์
วารสารที่เกี่ยวข้องกับสาขาที่ทำการวิจัย
หนังสือตำรา
พจนานุกรม
คู่มือ
รายงานประจำปี
การสืบค้นจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์
วิธีการศึกษาเอกสาร
และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
อ่านคราว ๆ เพื่อหาเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาเพื่อเก็บใจความสำคัญ
ดูจากชื่อเรื่อง
สารบัญ
เนื้อหา
บทนำ
รายละเอียด
บทสรุป
ลักษณะของปัญหาการวิจัยที่ดี
ไม่เหมือนหรือซ้ำกับผู้อื่น
มีวิธีการที่ได้คำตอบของปัญหานั้น
มีความสำคัญ
มีผลกระทบต่อคนหรือสังคมส่วนใหญ่
มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวขึ้นไป
สามารทำการวิจัยได้
มีความชัดเจนและขอบเขตของการศึกษา
วิธีการกำหนดชื่อเรื่องการวิจัย
ชื่อปัญหากะทัดรัดและชัดเจน
ชื่อเรื่องที่ดีต้องมี 3 ส่วน คือ
ทำที่ไหน
ทำกับใคร
ทำเรื่องอะไร
คำขึ้นต้นชื่อเรื่องให้เป็นคำนาม
ชื่อเรื่องการวิจัยเป็นประโยคบอกเล่า
ไม่ใช้อักษรย่อ
ให้เป็นภาษาเขียนทางการ ห้ามภาษาพูด
บ่งบอกลักษณะประเภทการวิจัย
แหล่งปัญหาในการวิจัย
ความสนใจของผู้วิจัย
ประสบการณ์ของผู้วิจัย
วิทยานิพนธ์ /รายงานวิจัย /หนังสือ/วารสาร ฯลฯ
ข้อเสนอแนะจากรายงานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์
ปัญหาของผู้อื่น
การร่วมประชุม อบรม สัมมนา PLC
การเขียนวัตถุประสงค์
ระบุให้ชัดเจนว่าต้องการศึกษาเรื่องอะไร
เขียนให้สอดคล้องกับปัญหาการวิจัย
ภาษาที่ใช้กะทัดรัดแต่ได้ใจความชัดเจน
เขียนเป็นประโยคบอกเล่า
กรณีมีหลายข้อต้องเขียนเป็นข้อ ๆ
ขึ้นต้นด้วยคำว่า “เพื่อ”
ชื่อเรื่องวิจัยที่ดี
ทัศนคติที่มีต่อการจัดการขยะในตลาดเทศบาล
การเปรียบเทียบพฤติกรรมการออกกำลังกายของนักเรียน
การศึกษาผลการพัฒนาผ้าไหมมัดหมี่ของกลุ่มแม่บ้าน
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตปุ๋ยหมักน้ำมูลไส้เดือน
การสร้างมูลค่าเพิ่มของขวดพลาสติกด้วยเครื่องตัดคอขวด
สาระที่จะสังเคราะห์
สาระส่วนใหญ่ประกอบด้วย
นิยามตัวแปร ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรหลักของการ
วิจัย หรือผลการวิจัยก่อนหน้านั้น
ตรวจสอบคุณภาพของเอกสาร
อ่าน วิเคราะห์ และจับประเด็น แล้วสรุปย่อลงในแบบบันทึก
จัดเตรียมข้อมูลเพื่อทำรายการอ้างอิงภายหลังด้วย
เกณฑ์การเลือกเอกสาร
เนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้อง
ความทันสมัย
ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยภาพรวมและวิเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยตรง
การนำเสนอเอกสาร
และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
มีคำกล่าวนำหรือระบุขอบเขต
จัดลำดับในการนำเสนอ
นำเสนอเนื้อหาตามลำดับ
นำเสนองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เกณฑ์การกำหนดปัญหาการวิจัย
ด้านคุณค่าของการวิจัย
มีคุณค่าน่าสนใจ
สร้างความรู้ใหม่
ปฏิบัติได้จริง
ด้านสภาพที่เอื้อต่อการวิจัย
มีแหล่งสืบค้นข้อมูล
มีทรัพยากรเพียงพอ
ได้รับความร่วมมือ
ด้านความสามารถของผู้วิจัย
ผู้วิจัยมีความสนใจ
ผู้วิจัยมีความรู้
เอกสารที่เกี่ยวข้องและงานการวิจัย
เอกสารทุติยภูมิ
หนังสือ ตำรา หนังสือพิมพ์
พจนานุกรม สารานุกรม
รายงานปริทัศน์งานวิจัย คู่มือ รายงานประจำปี
เอกสารปฐมภูมิ
รายงานวิจัย เอกสารวิจัย วิทยานิพนธ์
บทความวิชาการ
เอกสารอ้างอิงทั่วไป
ดรรชนีวารสาร รายการเอกสาร
บทคัดย่องานวิจัย บทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ข้อบกพร่องเกี่ยวกับการสืบค้น
ความทันสมัยของเอกสาร/แหล่งค้น
ประเภทของเอกสารที่อ้างอิง
ข้อบกพร่องเกี่ยวกับวิธีการอ้างอิง
ประเภทของแหล่งค้น/แหล่งอ้างอิง
การอ้างอิงโดยไม่ได้เรียบเรียงภาษาใหม่
การอ้างอิงไม่ตรงตามต้นฉบับ
การอ้างอิงแบบตัดต่อความคิด