Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตกเลือดก่อนคลอด - Coggle Diagram
การตกเลือดก่อนคลอด
First half bleeding (GA 20 weeks)
Molar pregnancy
Abortion
Ectopic pregnancy
Ante partum
hemorrhage(GA >20 weeks)
Placenta previa
ชนิด
Placenta previa patialis
Placent previa marginalis
Placenta previa totalis
Low lying placenta previa
อาการและอาการแสดง
เลือดที่ออกได้สัดส่วนกับอาการหญิงตั้งครรภ์
ตรวจทางหน้าท้อง มดลูกนุ่ม กดไม่เจ็บ คลำทารกได้ ฟัง FHS ได้ชัดเจน
เลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่เจ็บปวด
การพยาบาล
-ให้นอนพักบนเตียง semi-fowler 20-30 องศา
-งด PV,PR สวนอุจจาระ
-เจาะ HB,HCT,กลุ่มเลือด,เพื่อเตรียมเลือดทดแทน
-งดน้ำและอาหาร,ให้สารน้ำทดแทน
-ตรวจสัญญาณชีพ โดยเฉพาะชีพจรและความดันโลหิต
-สังเกตและบันทึกจำนวนเลือดที่ออก
-สังเกต,บันทึกการหดรัดตัวของมดลูกการเจ็บครรภ์
-สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ถ้าผิดปกติรายงานแพทย์ เช่น ซีด กระสับกระส่าย พักไม่ได้
-กรณีรกเกาะต่ำไม่รุนแรง เตรียมคลอดทางช่องตลอด
การวินิจฉัย
-ประวัติเลือดออกในระยะหลังการตั้งครรภ์โดยไม่เจ็บครรภ์
-ตรวจทางหน้าท้อง มดลูกนุ่ม คลำทารกได้
-ตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง (Ultrasonography)
-ตรวจช่องทางคลอด (Double set up)
-ตรวจโดยการถ่ายภาพรังสี
Abruptio placenta
อาการและอาการแสดง
-มีเลือดออกทางช่องคลอดร่วมกับการเจ็บครรภ์
-มดลูกหดรัดตัวตลอดเวลา(tetanic)
-อาการไม่สัมพันธ์กับเลือดที่ออกทางช่องคลอด
-เสียงหัวใจทารกผิดปกติหรือฟังไม่ได้ ทารกมักตายในครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
-Shock
-Hypofibrinogenemia
สาเหตุ
Toxemic group
Mechanical group
Dietary group
การพยาบาล
ให้นอนพักบนเตียง โดยนอนตะแคงซ้าย
วัดสัญญาณชีพเป็นระยะ NPO เปิดเส้นให้สารน้ำ
เจาะเลือดส่งตรวจหากลุ่มเลือด Hb Cloting time Fibrinogen
งดตรวจ PV / PR / สวนอุจจาระ
สังเกตและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกเลือดที่ออก
ดูแลอาการเจ็บครรภ์รายงานแพทย์เมื่อเจ็บมาก
รายรุนแรงรายงานแพทย์ด่วน
จัดให้นอนราบให้ความอบอุ่น
ให้ออกซิเจน 4-5 ลิตร / นาทีให้สารน้ำในอัตราที่เร็วขึ้น
ใส่สายสวนปัสสาวะเพื่อบันทึกจำนวนปัสสาวะ
ด้านทารกฟังเสียง FHS สังเกตการดิ้นให้ออกซิเจน
เตรียมเครื่องมือฉุกเฉินในการช่วยทารกแรกเกิดให้พร้อม
Abortion
GA 20-28 weeks
Vasa Previa
เส้นเลือดทอดต่ำผ่านทางคลอดมักพบในสายสะดือเกาะเยื่อหุ้มเด็กชัน Chorion (Insertio velamentosa หรือ Menbranous insertion)
อาการ
ก่อนถุงน้ำแตก
-คลำพบหลอดเลือดเต้นในจังหวะเดียวกับหัวใจทารก
-ส่องตรวจถุงน้ำ amnioscopy เห็นหลอดเลือดทอดบนถุงน้ำ
U / S เห็นหลอดเลือดทอดต่ำกว่าส่วนนำ
FHS ผิดปกติ
หลังถุงน้ำแตก
-มีเลือดปนน้ำคร่ำ
-Fetal distress จากเลือดที่ออกเป็นเลือดทารกโดยตรง
การพยาบาล
-พบก่อนถุงน้ำแตกให้C/S
-พบหลังถุงน้ำแตก ต้องให้สิ้นสุดการคลอดโดยเร็ว เช่น คีม C/S
-หากทารกตาย ให้คลอดทางช่องคลอด