Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุแะลการพยาบาล - Coggle Diagram
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุแะลการพยาบาล
1.ปัญหาสุขภาพระบบกระดูกและฮอร์โมนในผู้สูงอายุ
2.กระดูกพรุน ส่งผลให้เสี่ยงต่อการหักของกระดูกได้รับแรง
กระแทกทำไม เนื่องจากความแข็งแรงกระดูกลดลง
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยส่วนบุคคล กรรมพันธุ์/เชื้อชาติ ปัจัยด้านพฤติกรรมเสี่ยงทำให้ลดลง การสูบบุหรี่ ปัจจัยเสี่ยงเพิ่มเติม สายตาผิดปกติ สมองเสื่อม หกล้มไม่นาน สุขภาพอ่อนแอ
การตรวจวินิจฉัย
ประวัติส่วนตัว: เกี่ยวกับกระดูกที่หักในวัยผู้ใหญ่ น้ำหนักตัวน้อย ประวัติกระดูกหักเมื่อมีแรงกระทำเบาๆที่กระดูก การตรวจทางห้องปฏิบัติการ:การเกิดโรคกระดูกพรุนเกี่ยวข้องกับมวลกระดูกที่ลดลง ตำแหน่งที่นิยมได้แก่กระดูกสันหลังและข้อสะโพก
การรักษา
กระดูกสะโพกหัก มีเป้าหมายให้ผู้ป่วยสามารถกลับไปทำงานและใช้ชีวิตเร็วที่สุด
การรักษาด้วยการไม่ผ่าตัด
การรักษาด้วยการผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาลเพื่อป้องกันและการรักษาโรคกระดูกพรุน
ออกกำลังกายแบบลงน้ำหนัก เป็นการออกกำลังกายทั้งกล้ามเนื้อและกระดูกทำงานต้านแรงโน้มถ่วงของโลก เช่นการเดิน การวิ่งเหยาะ การเต้นรำ การออกกำลังกายกล้ามเนื้อ การยกน้ำหนัก
การลดปัจจัยเสี่ยง ได้แก่การงดดื่มกาแฟ การได้รับแสงแดดไม่เพียงพอ
การเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุเพื่อป้องกันการสูญเสียมวลกระดูกและการเกิดกระดูกหัก จากความเปราะบางหรือพรุนของกระดูก
3.โรคเบาหวานในผู้สูงอายุ เป็นโรคทางเมตะบอลิสึมที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงอันเป็นผลมาจากความบกพร่องของตับอ่อนที่ไม่สามารถหลั่งอิซูลินให้เพียงพอต่อร่างกาย
โรคแทรกซ้อนของเบาหวานแบ่งเป็น2ชนิด
โรคแทรกซ้อนชนิดเรื้อรัง การเกิดโรคแทรกซ้อนของโรคเบาหวานมีความสัมพันธ์กับระยะเวลาของการเป็นโรค และขึ้นอยู่กับปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
โรคแทรกซ้อนชนิดเฉียบพลัน เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและรุนแรง ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจะมีอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ คือภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูง
อาการและอาการแสดงของโรคเบาหวาน
น้ำหนักลด ผอมลง เมื่อเซลล์ไม่สามารถนำกลูโคสไปใช้เป็นพลังงานได้ ร่างกายก็จะสลายจับไขมันและโปรตีนที่เก็บสะสมไว้ใช้พลังงาน
หิวบ่อย รับประทานอาหารได้จุ จากการที่ร่างกายมีการสลายเอาเนื้อเยื่อส่วนต่างๆมาใช้จึงจึงทำให้เกิดภาวะขาดสารอาหารขึ้น
คอแห้ง การะหายน้ำและดื่มน้ำมาก เนื่องจากร่างกายเสียน้ำทางปัสสาวะจำนวนมาก จึงเกิดการขาดน้ำอย่างรุนแรง
การประเมินระดับน้ำตาลในเลือด การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและปริมาณของปริมาณ การตรวจปัสสาวะเป็นวิธีที่ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อยและสามารถตรวจได้ด้วยตนเองแต่ไม่สามารถบอกระดับน้ำตาลในเลือดได้โดยตรง :
พยาธิสรีรภาพ โรคเบาหวานใรผลต่อระบบต่างๆการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นคล่้ายการเปลี่ยนแปลง
ระบบหลอดเลือด มีการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดฝอย การที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ยังทำให้มีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะได้ง่ายโดยเฉพาะผู้หญิง :
ไต นอกจากนี้การที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ยังทำให้เกิดการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะได้ง่ายโดยเฉพาะผู้หญิง ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นง่ายอยู่แล้ว :
ตา ผลจากการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดแดงฝอย ทำให้เกิดการเสื่อมของจอตามีการเปลี่ยนแปลงสายตา คือมองไกลๆจะไม่ชัด
ผิวหนัง มีอาการคันตามตัว ซึ่งพบมากในผู้สูงอายุเพราะผิวหนังแห้ง อยู่แล้วมีลักษณะเฉพาะของโรคเบาหวาน
สาเหตุและปัจจัยการเกิดโรคเบาหวานในผู้สูงอายุ
กรรมพันธุ์ เป็นสาเหตุสำคัญมากประการหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคเบาหวานเพราะสมาชิกในครอบครัวที่เป็นโรคเบาหวานมีโอกาสเป็นโรคเบาหวานได้มากกว่าผู้ที่ไม่มีประวัติโรคเบาหวาน
การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต พบว่าความชุกของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดไม่พึงอินซูลินมีในชุมชนเมืองมากกว่าชนบท
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน ได้แก่ glucocorticoid glucagons catecholamine
ยาและสารเคมีบางอย่าง ผู้สูงอายุมักมีการเจ็บป่วยเล็กน้อยเรื้อรังอยู่เสมอ จึงมีโอกาสได้รับยาหลายชนิด
หลักเกณฑ์ในการวินิจฉัยโรคเบาหวาน อาการของโรคเบาหวานค่าน้ำตาลในเลือดก่อนตอนเช้าผลการทดสอบความทนต่อกลูโคส
การรักษาโรคเบาหวาน การรักษาอาการและการป้องกันไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน โดยมีเป้าหมายของการรักษาโรคเบาหวาน คือ การรักษาระดับน้ำตาลในเลือดระดับปกติใกล้เคียง ประกอบด้วย4ปัจจัย อาหาร การออกกำลังกาย การใช้ยาลดน้ำตาล การให้ความรู้ เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ :
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
การควบคุมอาหาร
การออกกำลังกาย
การใช้ยาลดน้ำตาล
ชนิดของโรคเบาหวาน
ดบาหวานชนิดที่1 Type1 ส่วนใหญ่เกิดจากการทำลายเซลล์ตับอ่อนทำให้เกิดการขาดอินซูลินโดยสิ้นเชิง ส่วนมากพบในเด็กแต่สามารถพบได้ทุกวัย
เบาหวานชนิดที่2 Type2 เกิดจากการขาดอินซูลินที่ไม่พึ่งอินซูลินแต่ไม่รุนแรงเท่าType1มีการสร้างกลูโคสจากตับเพิ่มขึ้น มักมีอาการค่อยเป็นค่อยไปหรือไม่มีอาการ
1.ข้อเสื่อม ปัจจัยการเกิดโรค เช่นอายุเพิ่มมากขึ้นพันธุกรรม การได้รับบาดเจ็บของข้อ
การตรวจวินิจฉัย
อาการและอาการแสดงได้แก่ ปวด ข้อยึด เกิดขึ้นเมื่อทำกิจกรรม และอาการลดลงเมื่อพัก มีเสียงดังภายในข้อกดเจ็บ พิสัยการเคลื่อนไหวข้อลดลง ข้อมีขนาดโต อาจเกิดข้อเดียวเป็นหลายข้อ มักมีอาการปวด
การตรวจวินิจฉัยโรค
กำหนดเกณฑ์การวินิจฉัยโรคข้อเข่าเสื่อม โดยอาศัยอาการทางคลินิก :
คลำไม่พบข้ออุ่น
น้ำเจาะข้อเข่ามีลักษณะใสหนืด เม็ดเลือดขาวไม่เกิน 2000เซลล์/มม
กดเจ็บบริเวณข้อเข่า
มีเสียงดังในข้อเข่าขณะขยับข้อเข่า
ค่าESR น้อยกว่า 40มม./ซม.
พยาธิสรีรวิทยา
โดยปกติกระดูกอ่อนมีลักษณะเรียบขาว มีคุณสมบัติยืดหยุ่นช่วย กระจายแรงกด กระดูกอ่อนผิวข้อเสื่อมจะมีลักษณะเหลืองขุ่น ผิวขรุขระ รอยแตก บางครั้งเศษกระดูกที่กระดูกอ่อนข้อเสื่อม มีผลให้เยื่อบุข้ออักเสบ กระดูกงอกที่ขอบของทำให้ขัดขวางการเคลื่อนไหวของข้อ :
การรักษา
การรักษาที่ไม่ใช้ยา
การใส่อุปกรณ์พยุงข้อเข่าหรือการใช้ไม้เท้าช่วยยืนหรือเดิน ไเ้ประโยชน์เช่นกันการรักษาอื่นๆได้แก่การนวด การกระตุ้น การฝังเข็ม กระแสไฟ
การรักษาที่ใช้ยา
เป้าหมายเพื่อหวังผลลดอาการปวดและการอักเสบของข้อ ได้แก่ยาพาราเซตามอลยาต้านการอักเสบชนิดไม่ใช้สเตียรอยด์ ยาทาเฉพาะที่
การผ่าตัด
ชนิดของโรคข้อเสื่อม
มีทั้งสามารถหาสาตุได้กับไม่สามารถหาสาเหตุ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติของอายุประวัติครอบครัวเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคข้อเสื่อมไม่ทราบสาเหตุ ชนิดที่สามารถหาสาเหตุได้เกิดจากหลายสาเหตุ การได้รับบาดเจ็บ การอักเสบของข้อ
กิจกรรมการพยาบาล
หลีกเลี่ยงการใช้ข้อมากเกินไป
การใช้ยารักษาตามอาการเน้นบรรเทาอาการปวดและลดการอักเสบที่เกิดขึ้นได้แก่ การใช้ยาพาราเซตามอล เพื่อลดปวด การใช้ยาต้่านการอักเสบ
พักการใช้ข้อโดยเฉพาะในระยะที่มีการอักเสบเฉียบพลัน ร่วมกับการประคบเย็นใน24ชั่วโมงแรก ที่มีอาการปวดบวมเฉ๊ยบพลัน หลังจากนั้นประคบร้อน :
การผ่าตัดเปลี่นข้อเข่าเทียม การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ก่อนและหลังการผ่าตัดการเปลี่ยนข้อเข่า
ระยะก่อนการผ่าตัด
การบริหารพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อเข่า นั่งงอเข่าที่ขอบเตียง จากๆนั้นค่อยๆงอเข่าข้างที่ผ่าตัดให้ำด้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ การเดินลงน้ำหนักขาข้างที่รับการผ่าตัด ขึ้นกับชริดของข้อเทียม ผู้ป่วยสามารถเดินลงน้ำหนักได้เต็มที่หลังผ่าตัด ฟ้ามเดินลงข้างที่ผ่าตัด หลังจากเดินลงน้ำหนักบางส่วนนาน การฝึกเดินขึ้นลงบันได การสอนให้ผู้ป่วยฝึกการหายใจอย่างถูกวิธีโดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีโรคความดันโลหิตสูง
ระยะหลังการผ่าตัด
แบ่งเป็น3ระยะ
2.ระยะ2-8สัปดาห์หลังผ่าตัด เน้นเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและการเดินโดยไม่ต้องอาศัยเครื่องพยุงเดิน ให้เดินโดยใช้ไม้เท้าช่วยพยุงได้มากขึ้น
3.ระยะ8สัปดาห์-6เดือนหลังผ่าตัด เน้นเพิ่มสมรรถภาพของร่างกายสามารถประกอบกิจกรรมต่างๆ โดยไม่ต้องพึ่งพาบุคคลอื่นๆ หรือสามารถประกอบอาชีพได้ตามปกติ
1.ระยะการ5-7วันหลังการผ่าตัด เน้นการเคลื่อนไหวของข้อเข่าและประกอบกิจวัตรประจำวัน โดยพึ่งพาตนเองความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นน้อยที่สุด
ให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุเข้าใจธรรมชาติของโลก สนับสนุนทางด้านจิตใจเนื่องจากข้อเสื่อมเป็นโรคเรื้อรัง ทำให้ผู้ป่วยวิตกกังวลสูง แนวทางการรักษา วิธีปฏิบัติให้ถูกต้อง
2.ปัญหาความบกพร่องด้านการสื่อสารในผู้สูงอายุ
ปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุเกิดจากกลไก2ส่วน :
ส่วนนำเสียงและการขยายเสียง ถ้ามีความผิดปกติจะเกิดขึ้นที่หูชั้นนอกและหูชั้นกลางผู้สูงอายุ ทำให้หูอื้อตึงได้
ส่วนประสาทความผิดปกติบริเวณนี้ของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ทำให้เกิดภาวะหูตึง หรือหูหนวกถาวรได้
ผลกระทบที่เกิดจากการสูญเสียการได้ยินต้องเผชิญกับความทุกข์ วิตกกังวล อาจได้ยินไม่ชัดเจน ทำให้สื่อความหมายผิดพลาดโดยผู้สูงอายุ มักรับรู้เกิดขึ้นเป็นความพิการอย่างรุนแรง แม้เสียการสูญเสียการได้ยิน :
การพยาบาลผู้สูงอายุที่สูญเสียการได้ยิน :
พยาบาลควรให้คำแนะนำแก่ดูแลสมาชิกครอบครัว ทักษะการสื่อสารอย่างมีคุณภาพ โดยการเริ่มต้นเลือกใช้สถานที่อย่างเหมาะสม :
ในบางรายตรวจพบภาวะขี้หูอุดตัน ควรส่งแพทย์หรือพยาบาลชำนาญการ ทั้งนี้แพทย์อาจให้สารละลายขี้หู เช่นโซเดียมคาร์บอเนต
ควรแนะนำการรับประทานอาหารกรดโฟลิคสูงเช่นผักใบเขียว อาหารประเภทถั่ว
แนะนำการดูแลรักษาสุขอนามัยของหูอย่างถูกวิธี หลีกเลี่ยงการแคะหูใช้ไม่พันสำลีเช็ดเข้าไปในรูหู เนื่องจากอาจดันขี้หูเข้าไปมาากขึ้น
ปัญหาการมองเห็น
สายตาผู้สูงอายุ
สาเหตุ ความเสื่อมตามอายุในผู้สูงอายุมักทำให้เลนส์ขาดการยืดหยุ่นการปรับสายตามีน้อยลงมีความลำบาก
อาการ ผู้ป่วยมีอาการมองใกล้ได้ไม่ชัเต้องถือหนังสือออกไปไกลกว่าระยะปกติหรือสุดแขนเวลาอ่านหนังสือ
การรักษา ตรวจวัดสายตาที่โรงพยาบาลหากไม่แน่ใจเพื่อช่วยมองเห็นวัตถุที่อยู่ใกล้ได้ดีขึ้นด้วยการตัดแว่น อาจเปลี่ยนแว่นทุกๆ2-3ปี
ต้อกระจก เลนส์ตาชาวขุ่นทำให้ปริมาณแสงลดลง
สาเหตุ เกิดจากภาวะเสื่อมตามวัยผู้ที่มีอายุมากกว่า60ปีจะเป็นต้อกระจกแทบทุกราย แต่อาจเป็นมากน้อยต่างกันไป
อาการและอาการแสดง มองเห็นภาพซ้อน เนื่องจากการหักเหของแสงในแต่ละส่วนของแก้วเปลี่ยนไป รูม่านตาจะเห็นขุ่นขาวเมื่อส่องดูด้วยไฟฉาย
การรักษา แพทย์จะวินิจฉัยเบื้องต้นด้วยการตรวจพบแก้วตา ขุ่นขาวเวลาใช้ไฟส่องจะตาพร่า
แก้วตาเทียม สิ่งประดิษฐ์ใช้แทนเลนส์ธรรมชาติมักทำจากสาร ส่วนที่เป็นแก้วตาเทียม ทำหน้าที่หักเหแสง ขาแก้วตาเทียมพยุงแก้วตาเทียมในตำแหน่งที่ต้องการไม่ให้เคลื่อนที่หรือหลุด
การพยาบาล การพยาบาลเพื่อป้องกันอุบัติเหตุเตียงเตี้ยล้อสามารถล็อคได้ การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวล แนะนำบริเวณแวดล้อมเตียงและเครื่องใช้ต่างๆ การพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วยมีความพ้อมทางด้านร่างกายก่อนผ่าตัด ประเมินร่างกายผู้ป่วยก่อนผ่าตัด เตรียมผู้ป่วยทำความสะอาด
ต้อหิน เป็นการเกิดจากความดันภายในลูกตาสูงขึ้น
อาการของต้อหิน จะสูญเสียการมองเห็นจากด้านข้างเข้ามาตรงกลางเรื่อยๆมีอาการมากตอนเช้า ตาแดง
การรักษา ไม่มีการรักษาที่กลับมาได้คืนเท่าคนปกติแต่สามารถชะลอไม่ให้เกิดโรคแย่ลงได้
3.ปัญหาความผิดปกติในการขับถ่ายในผู้สูงอายุ
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
มีผลมากจากหูรูดท่อปัสสาวะเองหดรัดตัวไม่ดี หรือการหย่อนของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน เกิดจากกล้ามเนื้อเรียบของกระเพาะปัสสาวะสูญเสียความสามารถในการบีบตัว
แนวทางการดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหา ซักประวัติแยกระหว่าง ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้เฉียบพลัน การตรวจร่างกายการตรวจร่างกายทั่วไป การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจ
การจัดการการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ การจัดการบำบัด การดูแลผู้สูงอายุที่มีการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ การใช้ยา ที่เป็นสาเหตุของการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุ การสวนปัสสาวะตามแบบเวลาสะอาดโดยธรรมชาติ ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะออก
ต่อมลูกหมากโต
สาเหตุ ยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจนที่ทำให้เกิดภาวะต่อมลูกหมากโต แตาคาดว่าอาจเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมนเกิดขึ้นตามธรรมชาติเมื่ออายุมากขึ้น
อาการ ลุกขึ้นถ่ายปัสสาวะกลางดึก ปัสสาวะไหลๆหยุดๆ ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้ ปัสสาวะไม่สุด
การรักษา อาการเล็กน้อย งดดื่มของเหลว อาการระดับปานกลาง แพทย์ให้กินยายาลดการเกร็งกล้ามเนื้อที่บีบรัด ถ้สรุนแรงแพทย์จะืชทำการด้วยการผ่าตัด
4.ปัญหาระบบประสาทในผู้สูงอายุ
พาร์กินสัน กลุ่มอาการที่มีความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง มีผลต่อการเคลื่อนไหว และการพูด
สาเหตุ ยังไม่ทราบแน่ชัด พบว่าจะมีอาการสมองเสื่อมของเซลล์ประสาท
การรักษา การรักษาทางยา การรักษาด้วยการผ่าตัด การรักษาด้วยการกายภาพบำบัด
อาการ อาการจะมีลักษณะเฉพาะที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว ส่งผลให้ผู้ป่วยลำบากในการทำกิจวัตรประจำวันเมื่อต้องเข้ากับสังคมเพื่อน ในปัจจุบัน
การปฏิบัติการพยาบาล การดูแลเป็นการช่วยให้สามารถปฏิบัติภารกิจประจำวันได้ วางแผนการดูแลชีวิตประจำวัน หาโอกาสพาผู้ป่วยไปหาครอบครัว การฟื้นฟูสภาพผูัป่วยช่วยทำให้ความจำดีขึ้น การรับประทานยา อธิบายการเข้าใจของเกี่ยวกับฤทธิ์ยา
ภาวะซึมเศร้า มีอาการแสดงจากการเปลี่ยนแปลงร่างกาย อารมณ์ การคิดรู้รวมทั้งความผอกปกติ
อาการและอาการแสดง อาการแสดงทางร่างกายบ่นเรื่อวลงอาการเจ็บป่วยทั้งที่ไม่มีโรคชัดเจน เช่นไม่สุขสบาย อาการจิตสังคม มีอารมณ์เศร้า ร้องไห้โดยไม่มีสิ่งกระตุ้นขาดความสนใจไม่ทำกิจกรรมในสิ่งที่เคยชอบ
การรักษา การให้คำปรึกษา บำบัดโดยให้คำปรึกษาโดยการสื่อสารให้ผู้สูงอายุได้รับรู้ว่าอย่างไร และการให้ การบำบัดด้วยการแก้ปัญหา เป็นการบำบัดที่รู้คิดและปรับพฤติกรรม
ภาวะสมองเสื่อม การรับรู้ประสาทสัมผัสเป็นกลุ่มประสาทอันเป็นผลจากเซลล์สมองถูกทำลายอย่างช้าๆ
สาเหตุ กลุ่มอาการสมองเสื่อมนั้นอาจเกิดขึ้นเกิดจากความเสื่อมของสมองหรือผลการทางกายและปัจจัยอื่นๆมีผลต่อการทำงานของสมอง
การรักษา การรักษาโยใช้ยา การรักษาโยไม่ใช้ยา
5.ปัญหาระบบการไหลเวียนเลือดและการหายใจ
โรคลิ้นหัวใจรั่ว /ตีบ ในผู้สูงอายุ
สาเหตุ การตีบของลิ้นหัวใจเอออร์ติกมักจะเกิดจากความเสื่อมตามธรรมชาติของร่างกาย ทำให้มีหินปูนจับกับลิ้นหัวใจจนลิ้นกัวหัวใจหนาขึ้น และปิดได้น้อยลง จึงพบบ่อยในผู้สูงอายุ
การวินิจฉัย สามารถทำให้โดยการซักประวัติผู้ป่วย ตรวจร่างกายทั่วไปและตรวจหัวใจโดยเฉพาะเช่นตรวจคลื่นหัวใจ การตรวจคลื่นหัวใจนะท้อนหัวใจเพื่อประเมินการตีบหัวใจ
การรักษา การเปลี่ยนลิ้นหัวใจออร์ติกตีบดดยการผ่าตัด เป็นการผ่าตัดเปิดหน้าอกเพื่อตัดลิ้นหัวใจเก่าออก การเปลี่ยนลิ้นหัวใจออร์ติกตีบผ่านสายส่วน โดยไม่ต้องผ่าตัด เป็นการใส่ลิ้นหัวใจเทียม
โรคปอดอุดกั้นเรื้องรัง
อาการ COPDพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไปในเวลาเดียวกันหลายปี ความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยแต่ละรายของอาการในผู้ป่วยแต่ละรายขึ้นอยู่กับความเสียหายของปอดด้วย
สาเหตุ เกิดจากปอดได้รับความเสียหายจนเกิดการอักเสบ สาเหตุส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับการได้รับสารอันตรายเข้าสู่ร่างกายเป็นเวลานาน พันธุกรรม
การวินิจฉัย COPD เริ่มจากการซักประวัติทั่วไป เช่นอาการผิดปกติ ประวัติทางการแพทย์ของผู้ป่วยและครอบครัว ตรวจดูความเหมาะสมของน้ำหนักตัว
การรักษา จะะรักษาตามอาการ การเลิกบุหรี่ การหลีกเลี่ยงมลพิษและสารเคมี การใช้ยา ยาขยายหลอดลม ยาออกฤทธิ์สั้น
โรคหัวใจขาดเลือดในผู้สูงอายุ
หัวใจขาดเลือด เป็นการเกิดจากการเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอต่อความต้องการของหัวใจ มักแตกต่างแต่ละราย มีอะไรมาบีบหรือกดทับไว้
การรักษา การใช้ยาขยายหลอดเลือด มีทั้งชนิดอมใต้ลิ้น ยารับประทาน ยาขยายทางหลอดเลือด การให้ยาสลายลิ่มเลือด การให้ลดการบีบตัวของหัวใจ
รับประทานอาหารตามคำสั่งแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด และมาตรวจตามนัด
รับประทานผัก ผลไม้และดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ2ลิตร
รับประทานอาหารอย่างพออิ่ม
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การออกกำลังกายที่ดีคือการเดิน
งดดื่มสุรา น้ำชา กาแฟ