Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
หมวด1 สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา 5 บุคคลมีสิทธิในการดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เื้อต่อสุขภาพ
มาตรา 6 สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ ซึ่งมีความจำเพาะ ซับซ้อน มีอิทธิพลต่อสุขภาพหญิงตลอดช่วงชีวิต ต้องได้รับการสร้างเสริมและคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม
แต่ไม่ว่ากรณีใดๆ ผู้ใดจะอาศัยอำนาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนเอง
มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนำไปเปิดเผยในประการที่ทำให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
มาตรา 8 ในการบริการสาธารสุขบุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพเกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอที่ผู้รับบริการจะใช้ประกอบการตัดสินจในการรับหรือไม่รับบริการใด และในกรณีที่ผู้รับบริการปฏิเสธไม่รับบริการใด จะให้บริการนั้นมิได้
(1.)ผู้รับบริการอยู่ในภาวะที่เสี่ยงอันตรายถึงชีวิตและมีความ
จําเป็นต้องให้ความช่วยเหลือเป็นการรีบด่วน
(2.) ผู้รับบริการไม่อยู่ในฐานะที่จะรับทราบข้อมูลได้ และไม่อาจแจ้งให้บุคคลซึ่งเป็นทายาทโดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ผู้ปกครอง ผูู้ปกครองดูแล
ผู้พิทักษ์หรือผู้อนุบาลของ ผู้รับบริการ แล้วแต่กรณีรับทราบข้อมูลแทนในขณะนั้นได้
หมวด 9 ในกรณีผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขประสงค์จะใช้ผู้รับบริการเป็นส่วนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขต้องแจ้งให้ผู้รับบริการทราบล่วงหน้า และต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้รับบริการก่อนจึงดำเนินการได้ ความยินยอมดังกล่าว ผู้รับบริการจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได้
หมวด 10 เมื่อมีกรณีที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนเกิดขึ้น หน่วยงานของรัฐที่มีข้อมูลเกี่ยวกับกรณีดังกล่าว ต้องเปิดเผยข้อมูลนั้นและวิธีป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพให้ประชาชนทราบและจัดหาข้อมูลโดยเร็ว
มาตรา 11 บุคคลหรือคณะบุคคลที่มีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบสุขภาพด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ
มาตรา 12 บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่พึงประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงพอเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้
หมวด 2 คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 25 ให้ คสช. มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้
(1) จัดทำรัฐธรรมนูญว่าด้วนระบบสุขภาพแห่งชาติเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ
(2) เสนอแนะหรือให้คำปรึกษาต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ
(3) จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติและสนับสนุนในการจัดให้มีสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่
มาตรา 24 หลักเกณฑ์และวิธีการประชุม คสช. และการปฏิบัติงานของ คสช. ให้เป็นไปตามระเบียบที่ คสช.กำหนด
มาตรา 23 นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา 13 พ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) ถูกจำคุก
(4) คสช. มีมติไม่น้อยกว่าสองในสามข้อจำนวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าที่
มาตรา 22 นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา 13 พ้นจากตำแหน่ง เมื่อพ้นจากตำแหน่งตามที่ระบุไว้ในมาตรา 15
มาตรา 21 กรรมการตามมาตรา 13 มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี โดยกรรมการตามมาตรา 13 จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้
มาตรา 20 ให้คณะกรรมการสรรหามีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้
(1) กำหนดวิธีการ หลักเกณฑ์และระยะเวลา ตลอดจนดำเนินการอื่นใดตามที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 15 มาตรา 17 และมาตรา 19
(2) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการสรรหามอบหมาย
มาตรา 19 ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่ง ซึ่ง คสช. แต่งตั้ง ประกอบด้วย
(1) กรรมการตามมาตรา 13 หนึ่งคน เป็นประธานคณะกรรมการสรรหา
(2) ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งแต่งตั้งจากผู้แทนกระทรวงสาธารณะสุขหนึ่งคน ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขหนึ่งคน
(3) เลขาธิการเป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหา
หมวด 3 สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 26 จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และไม่เป็นรัฐวิสหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น
มาตรา 27 ให้สำนักงานมีหน้าที่และอำนาจ ดังนี้
(1.) รับผิดชอบงานธุรการของ คสช. และคณะกรรมการบริหาร
(2.) ประสานงานกับหน่วยงานด้านนโยบายและดำเนินการเพื่อหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนดำเนินงานเรื่องสุขภาพ
(3.) สำรวจ ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ เพื่อจัดทำเป็นรายงาน
(4.) ดำเนินการเพื่อให้การจัดการสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ และสนับสนุนการจัดสมัชชา
(5.) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กำหนดไว้
มาตรา 28 รายได้ของสำนักงาน ประกอบด้วย
(1)เงินอุดหนุนทั่วไปที่รัฐบาลจัดสรร
(2) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้
(3) เงินหรือทรัพย์สินอื่นที่ตกเป็นของสำนักงาน
(4) รายได้จากการดำเนินกิจการของสำนักงาน
ดอกผลของเงินหรือทรัพย์สินตาม (1),(2), (3) และ (4)
มาตรา 29 บรรดารายได้ตามมาตรา 28 ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณมิได้
มาตรา 30 การเก็บรักษาและใช้จ่ายเงินของสำนักงานให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกำหนด
มาตรา 31 ให้มีเลขธิการคนหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารงานของสำนักงานขึ้นตรง คสช. มีหน้าที่ควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งงานของสำนักงาน และเป็นผู้บังคุบบัญชาพนักงานและลูกจ้างในสำนักงาน
มาตรา 32 ให้เลขธิการมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจะได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้
มาตรา 33 นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระแล้ว เลขาธิการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
ตาย
ลาออก
ถูกจำคุก
ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรา 34 เลขาธิการมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) บริหารกิจการของสำนักานให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย มติ ข้อบังคับ หรือประกาศของ คสช.
(2) จัดทำแผนงานหลัก แผนดำเนินงาน แผนการเงินและงบประมาณประจำปี
(3) บริหารงานบุคคล การเงิน งบประมาณ ตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารอนุมัติ
(4) วางระเบียบเกี่ยวกับการดำเนินของสำนักงานเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎฆาย นโยบาย มติ ข้อบังคับ ระเบียบหรือประกาศของ คสช.
(5) ปฎิบัติหน้าที่ตามที่คณะรัฐมนตรี คสช. และคณะกรรมการบริหารมอบหมาย
มาตรา 3ุ6 ให้เลขาธการเป็นผู้แทนสำนักงานในกิจการของสำนักงานที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก
มาตรา 35 เงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการให้คณะกรรมการบริหารกำหนดตามหลักเกณฑ์
มาตรา 37 ให้ คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย
ประธานกรรมการบริหาร
กรรมการบริหาร ซึ่งแต่งตั้งจากผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข
กรรมการบริหาร ซึ่งแต่งตั้งจากผุ้ทรงคุณวุฒิไม่เกินห้าคน
เลขาธิการเป็นกรรมการบริหารและเลขานุการ
มาตรา 38 การดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง การประชุมและการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามที่ คสช. กำหนด
มาตรา 39 คณะกรรมการบริหารมีหน้าที่และอำนาจ
กำหนดนโยบาย และกำกับดูแลสำนักงาน
กำหนดคุณสมบัติของเลขาธิการและรองเลขาธิการ
อนุมัติแผนงานหลัก แผนดำเนินงาน แผนการเงินและงบประมาณประจำปี
ออกข้อบังคับ ระเบียบและประกาศ
จัดให้มีผลการดำเนินงานของสำนักงาน
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการบริหารมอบหมาย
หมวด 4 สมัชชาสุขภาพ
มาตรา 40 การจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ หรือสมัชชาเฉพาะประเด็นหรือสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นี่ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คสช.กำหนด
มาตรา 41 ให้ คสช.จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา 42 ในการสมัชชาสุขภาพแห่งชาติให้ คสช.แต่งตั้งคณะกรรมการจัดสมัชชาแห่งชาติคณะหนึ่ง
มาตรา 43 ให้คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีหน้าที่ในการจัดการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 44 ผู้ใดประสงค์จะเข้าร่วมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในการประชุมครั้งใด ให้สมัครลงทะเบียนสำหรับการประชุมครั้งนั้นต่อเจ้าหน้าที่ที่คณะกรรมการจัด
มาตรา 45 ในกรณีที่สมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีข้อเสนอในหน่วยงานของรัฐนำไปปฏบัติ หรือนำไปพิจารณาประกอบในการกำหนดนโยบายสาธารณธเพื่อสุขภาะ
หมวด 5 ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 46 ให้ คสช.จัดทำรัฐธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนอนงานด้านสุขภาพของประเทศเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
มาตรา 47 ธรรมนูญว่าด้วนระบบสุขภาพแห่งชาติ ต้องสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และอย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้
(1) ปรัชญาและแนวคิดหลักของระบบสุขภาพ
(2) คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์และเป้าหมายของระบบสุขภาพ
(3) การจัดให้มีหลักประกันและความคุ้มครองให้เกิดสุขภาพ
(4) การเสริมสร้างสุขภาพ
มาตรา 48 ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ และนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพตามมาตรา 25 ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ผูกพันหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องที่จะต้องดำเนินการต่อไปตามอำนาจหน้าที่ของตน
หมวด 6 บทกำหนดโทษ
มาตรา 49 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 7 หรือมาตรา 9 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 50 ให้โอนบรรดากิจการ ทรพัย์สิน หนี้สิน สิทธิ และงบประมาณของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขในส่วนของสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติไปเป็นของสำนักงานพระราชบัญญัติ
มาตรา 51 ให้นำบรรดาข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของสำนักงานปฏิรูป มาใช้บังคับการปฏิบัติงานโดยอนุโลม จนกว่าจะไม่มีข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่ง
มาตรา 52 ให้ถือว่าข้าราชการที่โอนตามมาตรา 50 ออกราชการเพราะทางราชการเลิกหรือยุบตำแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญราชการ
มาตรา 53 ให้นำความในมาตรา 52 มาใช้บังคับกับการออกจากราชการหรืออกจากงานราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการที่สำนักงานรับเข้าทำงานด้วยโดยอนุโลม แต่ข้าราชการหรือลูกจ้างนั้นต้องแสดงความจำนงเป้นหนีงสืิสมัครเข้าทำงานต่อสำนักงาน