Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท2การป้องกันโรคและความผิดปกติของระบบภูมิคุ้กัน, นางสาวปาริชาติ ไตยสุทธิ์…
บท2การป้องกันโรคและความผิดปกติของระบบภูมิคุ้กัน
ความหมายของระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบภูมิคุ้มกัน(lmmune sytem)เป็นะบบหนึ่่งที่่สำคัญของสิ่งมีชีวิต
ระบบภูมิคุ้มกันเป็นกลไลการำงานของางกายระบบหนึ่ง
ร่างกายมีโอกาสได้รับเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมเช่น แบคีเีย ไวรัสจกกสัมผัส
อวัยวะที่เกียวข้อง
ไขกระดูก(bone marrow) เป็นโพรงที่อยู่ตรงกลางของกระดูก
ต่อมไทมัส (thymus gland) เป็นต่อมที่เม็ดเลือดขาวชนิดทีลิมโพไซต์
ต่อมน้ำเหลือง (lymph node) เป็นต่อรูปไข่กระจ่ายอญู่เป็นระยะ
โฟไซต์(lymphocyte)ที่คอยท าลายเชื้อจุลินทรีย์
โดยเฉพาะแบคทีเรียที่เข้ามาสู่ร่างกาย
โมโนไซต์(Monocyte) และลิมโฟไซต์(Lymphocyte) รวมถึงการท าลายเม็ดเลือดแดง
ร่างกายของคนเราที่มีสภาพภูมิคุ้มกันสิ่งแปลกปลอมที่อาจก่อให้เกิดโรคได้ร่างกายซึ่งมีกลไกก าจัดสิ่งแปลกปลอมตามธรรมชาติ
1.เหงื่อเป็นสารที่ร่างกายขับจากต่อมเหงื่อออกมาที่บริเวณผิวหนังทั่วร่างกายสามารถป้องกันการเจริญเติบโต
2.น้ าตาและน้ าลาย ช่วยท าลายเชื้อแบคทีเรียบางชนิดได้
3.ขนจมูกและน้ าเมือกในจมูก ช่วยป้องกันฝุ่นละอองและเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายทางลมหายใจ
4.เซลล์เม็ดเลือดขาวที่อยู่ในเซลล์ร่างกายและท่อน้ าเหลือง
ระบบภูมิคุ้มกัน มี เซลล์เม็ดเลือดขาว ( White Blood Cell หรือ Leucocyte )
ป้องกัน และทำลาย เชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ
กำจัดเซลล์ ที่เสื่อมสภาพ ออกจากระบบ ของร่างกาย เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง ที่มีอายุมาก
จับตาดูเซลล์ ที่แปรสภาพผิด ไปจากปกติ เช่น เซลล์ที่กำลังเติบโต ไปเป็นเซลล์มะเร็ง เป็นต้น
ประเภทของภูมิคุ้มกัน
ระบบภูมิคุ้มกัน ที่ได้รับมาแต่กำเนิด (Innate Immunity) หมายถึง ภูมิคุ้มกันของร่างกาย ที่ถูก
สร้างขึ้นเอง และติดตัวมาตั้งแต่เกิด เช่น ส่วนของผิวหนัง เยื่อบุ และเยื่อเมือกต่าง ๆ
ระบบภูมิคุ้มกัน ที่ได้รับมาภายหลัง (Acquired Immunity) หมายถึง ระบบภูมิคุ้มกัน ที่ทำงานต่อเนื่อง
มาจากระบบภูมิคุ้มกัน ที่ได้รับมาแต่กำเนิด เกิดขึ้นจากการที่ร่างกาย
2.1 ภูมิคุ้มกันแบบเฉพาะเจาะจง ( Adaptive
Immunity) คือ กลไกการปรับตัวตามธรรมชาติ
2.2 ภูมิคุ้มกัน จากภายนอก (Passive Immunity)
คือ ระบบที่เกิดขึ้น
ลักษณะ การทำงาน ของระบบภูมิคุ้มกัน
1) ระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่จำเพาะ ( Non-Specific
Defense Mechanism)
2) ระบบภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะ (Specific Defense
Mechanism)
กลไกต่อต้านและทำลายสิ่งแปลกปลอมในร่างกาย
1.แบบไม่จำเพาะ
2.แบบจำเพาะ
บทบาทหน้าที่ของระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system)
Defense ป้องกันและทลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม
Homeostasis คอยกำจัดเซลล์ปกติที่เสื่อมสภาพ เช่น เม็ดเลือดที่มีอายุมาก
Surveillance คอยจับตาดูเซลล์ต่างๆที่แปรสภาพผิดไปจากปรกติ
การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
1) ระบบภูมิคุ้มกันจากกระแสเลือดและสารคัดหลั่ง (Humoral Immune Response; HIR)
2) ระบบภูมิคุ้มกันจากเซลล์ (cell-mediated immune response; CMIR หรือ cell-
mediated immunity; CMI)
2.1 เซลล์ทีทำลายสิ่งแปลกปลอม
2.2 เซลล์ทีผู้ช่วย
2.3 เซลล์ทีกดระงับ
พยาธิวิทยาของระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง
2.การเกิดปฏิกิริยาภูมิคุ้มกันต่อเนื้อเยื่อตัวเอง (Autoimmune Diseases)
การเกิดปฏิกิริยาภูมิคุ้มกันที่ไวเกิน ทาให้เกิด ภูมิแพ้ เช่น แพ้อากาศ
การเกิดภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ภูมิคุ้มกันที่ผ่านทางรกจากแม่สู่ลูกขณะอยู่ในครรภ์
ภูมิคุ้มกันที่ได้จากน้ านมแม่
ภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นเมื่อมีการติดเชื้อตามธรรมชาติ
ภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการได้รับวัคซีน (active immunity)
ภูมิคุ้มกันที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ฉีดเข้าไปในร่างกายให้ออกฤทธิ์ทันที (passive immunity)
Immunoglobulin (Ig)
1.IgG เป็น immunoglobulin
2.IgA พบ 7-15 % ของ immunoglobulin
3.IgM มีขนาดใหญ่ที่สุด พบ 5-10% ของ immunoglobulin
4.IgD มีปริมาณน้อยมาก ประมาณ 0.03%ของ immunoglobulin
5.IgE ค้นพบหลังสุด มีปริมาณน้อยที่สุด คือพบประมาณ 0.003% ของ immunoglobulin
การสร้างภูมิคุ้มกันโรคของร่างกาย
ภูมิคุ้มกันก่อเองหรือการก่อภูมิคุ้มกันด้วยตนเอง (Active Immunization)
เมื่อร่างกายถูกกระตุ้นด้วยแอนติเจน(antigen)
ชนิดของวัคซีน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
Killed vaccine
วัคซีนที่ทำจากเชื้อแบคทีเรีย
วัคซีนที่ทำจากไวรัส
วัคซีนประเภทท๊อกซอยด์(toxoid)
วัคซีนผลิตจากองค์ประกอบอื่น
ข้อควรคำนึงถึงในการให้และรับวัคซีน
วัคซีนจะให้ประสิทธิภาพที่ดี
เด็กแรกเกิด จะสร้างภูมิคุ้มกันต่อวัคซีนไม่เต็มที่เพราะความต้านทานที่รับจากมารดา
ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคติดต่อเชื้อควรได้รับการแนะนาให้ฉีดวัคซีน
2สตรีกำลังตั้งครรภ์ ไม่ควรได้รับวัคซีนประเภท Live vaccine
ผู้ที่มีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันหรือใช้ยาบางประเภทไม่ควรใช้
ภูมิคุ้มกันที่รับมา (Passive Immunization)
เป็นการให้แอนติบอดี (antibody) แก่ร่างกายโดยตรง โดยแอนติบอดี้ (antibody) นี้ได้จาก
สัตว์อื่นๆ ใช้ส าหรับรักษาโรคบางชนิด
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของภูมิคุ้มกัน
ระบบภูมิคุ้มกันเป็นระบบที่มีกระบวนการต่างๆของร่างกาย เพื่อตอบสนองต่อการมีสิ่ง
แปลกปลอมต่างๆเข้าสู่ร่างกายหรือเกิดขึ้นในร่างกายเอง
ภูมิไวเกิน
ภูมิไวเกิน ได้แก่ โรคภูมิแพ้ชนิดต่างๆ เกิดจากภูมิคุ้มกันตอบสนองไวเกินต่อสารก่อภูมิแพ้
ตัวอย่างโรคภูมิไวเกิน
โรคภูมิแพ้
หอบหืด
ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ (Primary immunodeficiency; PID)
ความผิดปกติของ T lymphocyte เป็นหลัก (Predominantly T cell defect)
ความผิดปกติของ B lymphocyte เป็นหลัก (Predominantly B cell defect)
ความผิดปกติของทั้ง T และ B lymphocyte (Combined immunodeficiency)
ความผิดปกติของ Phagocyte (Phagocyte defect)
ความผิดปกติของระบบ Complement (Complement defect
โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องทุติยภูมิ (Secondary immunodeficiency)
เด็กคลอดก่อนกำหนด หรือผู้สูงอายุ
มีแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก ส่งผลให้มีการสูญเสียการทำงานของ skin barrier
การติดเชื้อเอดส์ หรือวัณโรค ซึ่งจะทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว ทำให้การทำงานในการก าจัดเชื้อของเม็ดเลือดขาวลดลง
ได้รับยาเคมีบำบัด หรือยากดภูมิคุ้มกัน
นางสาวปาริชาติ ไตยสุทธิ์ UDA6380066