Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute Pyelonephritis), นางสาวศิรภัทร ตุดเอียด…
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute Pyelonephritis)
ความหมาย
กรวยไตอักเสบชนิดเฉียบพลัน (Acute Pyelonephritis) ซึ่งมีอาการแสดงชัดเจน และนับว่าเป็นอาการที่ค่อนข้างรุนแรง แต่เมื่อได้รับการรักษาจะหายได้ภายใน 2-3 สัปดาห์
พยาธิ
เมื่อมีการอักเสบไตจะเริ่มขยายขึ้น
เกิดกาคั่งของเลือดและบวม
มีการติดเชื้ออย่างรุนแรง ตามผนังกรวยไตน้อย(calyces) กรวยไตจะบวมและแดง อาจมีเลือดออกด้วย
เกิดเป็นแผลจึงทำให้ท่าต่างๆของไตอุดตัน
เส้นเลือดฝอยของ Glomeruli ตีบแคบทำให้ไตขาดโลหิต
หน้าที่ของไตลดลง ทำให้ไตวายได้
สาเหตุ
เชื้อที่ได้บ่อยเป็นเชื้อแบคทีเรียเรียกกลุ่มแกรมลบได้แก่ อีโคไล (Escherichia coli) เคล็บชิลลา (Klebsiella) สูโดโมแนส (pseudomonas)
นบางรายเชื้อโรคอาจแพร่กระจายจากส่วนอื่นๆ ของร่างกาย โดยทางกระแสเลือดก็ได้
เกิดจากการติดเชื้ออักเสบเฉียบพลันในบริเวณกรวยไต ส่วนมากเชื้อโรคมักจะแพร่กระจายมาจากบริเวณผิวหนังรอบๆ ท่อปัสสาวะเข้ามาในท่อปัสสาวะกระเพาะปัสสาวะและผ่านท่อไตขึ้นมาที่ไต การอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะมักเป็นปัจจัยเสริมให้เกิดการติดเชื้อได้งายขึ้น เช่น นิ่วในทางเดินปัสสาวะ ต่อมลูกหมากโต กระเพาะปัสสาวะไม่ทำงานในผู้ป่วยอัมพาต การตั้งครรภ์หรือมีก้อนในช่องท้อง
การพยาบาล
-ข้อวินิจฉัย มีการอักเสบของกรวยไตเนื่องจากมีการติดเชื้อ
-ข้อมูลสนับสนุน ไข้สูง ปัสสาวะเป็นหนอง WBC 28,200 cell/mm3
-วัตถุประสงค์การพยาบาล: การอักเสบที่กรวยไตลดลง
-การพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพทุกๆ 4 ชม.
2.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาอย่างถูกต้องตามหลัก 5R คือถูกบุคคลถูกชนิด ถูกขนาด ถูกเวลา และถูกวิธี
3.ดูแลให้สารน้ําทางหลอดเลือดดําและกระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ํามาก ๆ วันละ 3 ลิตรเพื่อให้น้ําปัสสาวะมาก ๆ
4.การทําความสะอาดของร่างกาย โดยทําความสะอาด อวัยวะสืบพันธุ์ ด้วยการฟอกสบู่ทุกครั้งหลังการขับถ่ายอุจจาระและ
ล้างด้วยน้ําสะอาดทุกครั้งการขับถ่าย ปัสสาวะหลังจากนั้นซับให้แห้งเพื่อลดความอับชื้น เป็นการป้องกันเชื้อโรคจากภายนอกร่างกายเข้าสู่ระบบ ทางเดินปัสสาวะ
5.ติดตามค่าผลห้องปฏิบัติการ
ข้อวินิจฉัย ผู้ป่วยมีภาวะไม่สมดุลของสารน้ําและอีเล็กโทรไลต์ในร่างกาย วัตถุประสงค์การพยาบาล: ผู้ป่วยมีภาวะสมดุลของสารน้ําและอีเล็กโทรไลต์ในร่างกาย
การพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดําและยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียนตามแผนการรักษา
2.ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์เป็นอาหารประเภทอาหารอ่อนย่อยง่าย รสไม่จัด ช่วยให้ร่างกายดูดซึม ได้ง่ายแนะนําให้รับประทานอาหารครั้งละน้อย ๆ แต่บ่อยครั้งและเพิ่มอาหารเสริประเภทนม เพื่อชดเชย อาหารมื้อหลัก
กระตุ้นให้ดื่มน้ํามาก ๆ เพื่อขับของเสียออกจากร่างกาย
4.วัดและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินอุณหภูมิร่างกาย
5.ติดตามค่าผลห้องปฏิบัติการ เพื่อประเมินภาวะสมดุลสารน้ําและอีเล็กโทรไลต์
อาการแสดง
ปวดมากที่ข้างใดข้างหนึ่งและร้าวไปบริเวณขาหนีบ
มีไข้สูง
หนาวสั่นเป็นพักๆ
คลืนไส้ อาเจียน
ปวกท้อง
ปัสสาวะขุ่นข้นเป็นหนอง
นางสาวศิรภัทร ตุดเอียด เลขที่81
: