Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
:star: การตกขาวผิดปกติ
การตกขาวจากการติดเชื้อรา
(Vulvovaginal candidiasis)
ปัจจัยและปัจจัยเสี่ยง
การรับประทานยาปฏิชีวนะ รับฮอร์โมนสเตียรอยดและยากดภูมิต้านทาน เป็นโรคเอดส์ ได้รับเคมีบำบัด การควบคุมเบาหวานไม่ดี รับประทานแป้งและน้ำตาลมาก สวมชุดชั้นในแน่นเกินไป ใช้น้ำยาล้างช่องคลอด ไม่เปลี่ยนผ้าอนามัยระหว่างวัน ความเครียด ฮอร์โมนเอสโตรเจนสูง ภาวะกรด-ด่าง
อาการและอาการแสดง
คันและระคายเคืองมากในช่องคลอดและปากช่องคลอด ผื่นแดง บวมแดง
ตกขาวมีสีขาวขุ่น ตกตะกอน เจ็บขณะร่วมเพศ ปัสสาวะลำบาก แสบขัด
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : คันช่องคลอดมาก ระคายเคือง
การประเมิน
ซักประวัติอาการแสดง ระยะเวลา อาการตกขาว
ตรวจร่างกาย ช่องคลอดบวมแดง ตกขาวลักษณะ
ขุ่นรวมกันเป็นก้อนเหมือนนมตกตะกอน
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบเซลล์ของยีสต์ และเส้นใยของเซลล์เชื้อรา
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ : อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ เข้าใจสาเหตุของการติดเชื้อ และการดูแลตนเอง แนะนำการใช้ยาทา และยาเหน็บช่องคลอด ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ระยะหลังคลอด : ทารกแรกเกิดอาจมีฝ้าขาวในช่องปาก
การตกขาวจากการติดเชื้อพยาธิ
(Vaginal trichomoniasis)
อาการและอาการแสดง
พบโรคคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์อื่น
ร่วมด้วย เช่น หนองใน ปากมดลูกอักเสบแบบมูกปนหนอง หูดหงอนไก่ เชื้อราในช่องคลอด เป็นต้น
ระคายเคืองที่ปากช่องคลอด ตกขาวมีสีขาวปนเทา หรือสีเหลืองเขียว ตกขาวเป็นฟอง มีกลิ่นเหม็น ปัสสาวะแสบขัดหรือบ่อย
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : การติดเชื้อพยาธิในช่องคลอด ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ต่อทารกในครรภ์ : คลอดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวน้อย
การประเมินการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจภายในช่องคลอด
ตรวจทางห้องปฏิบัติการด้วย wet mount smear
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ : แนะนำการเหน็บยาหรือรับประทานยา สวมถุงยางอนามัย รักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ระยะหลังคลอด : เหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป ล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสบุตร งดการมีเพสัมพันธ์
การตกขาวจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
(Bacterial vaginosis)
อาการและอาการแสดง
ถ่ายปัสสาวะลำบาก แสบขัด เจ็บขณะร่วมเพศ ตกขาวสีขาว สีเทา หรือสีเหลือง ข้นเหนียว มีกลิ่นเหม็นเน่าเหมือนคาวปลา
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : การติดเชื้อในมดลูก ปีกมดลูกอักเสบ อักเสบอุ้งเชิงกราน ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ปวดท้องมาก
ต่อทารก : คลอดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวน้อย
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย ทำ pap smear
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจ Wet smear การเพาะเชื้อ (culture)
แนวทางการรักษา
ให้ยา metronidazole
ให้ ampicillin
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ : รับประทานยา รักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ตรวจและรักษาโรคพร้อมกัน ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์
ระยะหลังคลอด : เหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป ล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสบุตร ทำความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ให้สะอาดและแห้งเสมอ
ซิฟิลิส (Syphilis)
อาการและอาการแสดง
ซิฟิลิสระยะแรก หรือระยะที่หนึ่ง : จะเกิดแผล กลม นิ่ม ขอบนูนแข็ง ไม่เจ็บ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณขาหนีบโต
ซิฟิลิสระยะที่สอง : ไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต เจ็บคอ ผมร่วงเป็นหย่อมๆ ปวดศีรษะ น้ำหนักลด
ระยะแฝง : ไม่มีอาการใดๆ
ซิฟิลิสระยะที่ 3 หรือระยะท้ายของโรคซิฟิลิส : ผิวหนังอักเสบ กระดูกผุ เยื่อบุสมองอักเสบ และเสียชีวิตในที่สุด
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : เนื้อเยื่ออับเสบ แท้งบุตร
ต่อทารก : คลอดก่อนกำหนด ตายคลอด
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ : การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อซิฟิลิส
การตรวจร่างกาย : อวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
พบแผลที่มีลักษณะขอบแข็ง กดไม่เจ็บ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ตรวจหาเชื้อ T. Pallidum จากแผล chancre
การตรวจหา antibody การคัดกรองส่วนใหญ่นิยมใช้การตรวจด้วยวิธี VDRL
แนวทางการรักษา
ให้ยา Penicillin G
ระยะ primary, secondary และ early latent syphilis :
รักษาด้วย Benzathine Penicillin G Sodium
ระยะ late latent syphilis : รักษาด้วย Benzathine Penicillin G Sodium
หนองใน (Gonorrhea)
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะกระปิด
กระปรอย เป็นหนองข้น และปัสสาวะเป็นเลือด
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : ไม่มีอาการ มีบุตรยาก
ต่อทารก : ตาอักเสบ หูอักเสบ กระเพาะอักเสบ
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ : การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อหนองใน
การตรวจร่างกาย : ตรวจทางช่องคลอดจะพบหนองสีขาวขุ่น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : เก็บน้ำเหลืองหรือหนองจากส่วนที่มีการอักเสบมาย้อมสีตรวจ gram stain smear
แนวทางการรักษา
ตรวจคัดกรองขณะตั้งครรภ์ตามปกติ (VDRL)
ให้ยา ceftriaxone, azithromycin, penicillin
ทารกแรกเกิดทุกรายควรได้รับยาป้ายตาคือ 1% tetracycline ointment หรือ 0.5%erythromycin ointment หรือ 1% Silver nitrate (AgNO3)
การติดเชื้อเริม
(Herpes simplex)
อาการและอาการแสดง
ปวดแสบปวดร้อน เป็นตุ่มน้ำใสๆ ไข้ต่ำ ๆ อ่อนเพลัย ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว ต่อมน้ำเหลืองที่ขาหนีบโต
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : เสี่ยงแท้ง ติดเชื้อซ้ำขณะตั้งครรภ์
ต่อทารกในครรภ์ : คลอดก่อนกำหนด เจริญเติบโตช้าในครรภ์ พิการแต่กำเนิดสูง
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ : เคยติดเชื้อเริมมาก่อนหรือไม่
การตรวจร่างกาย : พบตุ่มน้ำใส
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : การเพาะเชื้อใน Hank’s medium การขูดเนื้อเยื่อจากแผล ขูดบริเวณก้นแผลมาป้ายสไลด์แล้วย้อมสี (Tzanck’s test)
แนวทางการรักษา
ให้ Acyclovir
ยังไม่มียาที่สามารถรักษา herpes simplex ให้หายขาดได้
หูดหงอนไก่
(Condyloma acuminate)
อาการและอาการแสดง
มีผิวขรุขระคล้ายดอกกะหล่ำและยุ่ยมาก
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : ตกเลือดหลังคลอด โอกาสเกิดมะเร็งปากมดลูก
ต่อทารก : อาจเกิด laryngeal papillomatosis
อุดกั้นของระบบทางเดินหายใจส่วนบน เสียงเปลี่ยน
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ : ติดเชื้อหูดหงอนไก่มาก่อน หรือเคยมีเพศสัมพันธ์
การตรวจร่างกาย : เป็นติ่งเนื้อสีชมพูคล้ายหงอนไก่ ผิวขรุขระคล้ายดอกกะหล่ำ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : genital cancer (CAvulva) ตรวจ Pap smear
แนวทางการรักษา
ทาบริเวณรอยโรคด้วย 85% trichlorracetic acid
รักษาความสะอาด หลีกเลี่ยงการอับชื้น
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ : คัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ รับประทานยา ฉีดยา หรือทายา ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระยะคลอด : ดูแลผู้คลอดโดยยึดหลัก universal precaution
หลีกเลี่ยงการทำหัตถการทางช่องคลอด ดูแลให้ได้รับยา
ระยะหลังคลอด : ประเมินอาการติดเชื้อของทารกแรกเกิด
การติดเชื้อเอชไอวีในสตรีตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ระยะเริ่มแรก : มีไข้ เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามตัว มีผื่นขึ้น ต่อมน้ำเหลืองโต
ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ : ร่างกายจะแข็งแรงเป็นปกติเหมือนคทั่วไป
ระยะติดเชื้อที่มีอาการ : อุณหภูมิร่างกายสูง
มากกว่า 37.80C เป็นพักๆ ท้องเดินเรื้อรัง หรืออุจจาระร่วงเรื้อรัง น้ำหนักลด
ระยะป่วยเป็นเอดส์ : ไข้ ผอม ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่ง ซีด
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ : ปริมาณ CD4 ต่ำ เกิดโรคแทรกซ้อน
ต่อทารก : คลอดก่อนกำหนด เจริญเติบโตช้า
น้ำหนักตัวน้อย ขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์ ตายคลอด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ : เพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย : ไข้ ไอ ต่อมน้ำเหลืองโต
มีแผลในปาก มีฝ้าในปาก ติดเชื้อราในช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ตรวจหาโปรตีนชนิด p24 antigen การตรวจหา antibody ตรวจนับเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 lymphocyte
การตรวจพิเศษ : ตรวจเสมหะและเอกซเรย์
การป้องกันและการรักษา
การให้ยาต้านไวรัสแก่สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV
การผ่าตัดคลอดก่อนการเจ็บครรภ์
หลีกเลี่ยงการโกนขนบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
หลีกเลี่ยงการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ควรได้รับการดูแลรักษาโดยกุมารแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญ
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ : คัดกรองสตรีตั้งครรภ์และสามีที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ ให้ความรู้แก่สตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกัน ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระยะคลอด : ดูแลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป แพทย์อาจพิจารณาเจาะถุงน้ำคร่ำ หลีกเลี่ยงการใช้สูติศาสตร์หัตถการที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ดูแลให้ได้รับยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
ระยะหลังคลอด : หลีกเลี่ยงเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา แนะนำให้ใส่เสื้อชั้นในที่คับ แนะนำวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไปสู่บุคคลอื่น ไม่แนะนำให้ใช้ยาฆ่าอสุจิ