Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายสุขภาพและนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ, ยุทธศาสตร์_MOPH - Coggle Diagram
นโยบายสุขภาพและนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
COVID -19
เพิ่มศักยภาพความมั่นคงทางสุขภาพในการจัดการกับโรคอุบัติใหม่ เป็นองค์กรหลักในการบูรณาการ
สร้างระบบสาธารณสุข ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทยและทุกคนที่อยู่ในประเทศไทย
หน่วยบริการก้าวหน้า
พัฒนาองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ งานได้ผล คนเป็นสุขสร้างผู้นำรุ่นใหม่ ให้สามารถดูแล สุขภาพ
ประชาชนได้อย่างยั่งยืนปลอดภัยทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ
(2P Safety)
ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
มุ่งเน้นการดูแลในกลุ่มเด็กปฐมวัย และผู้สูงอาย
พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตเชิงรุก
ระบบสุขภาพปฐมภูมิเข้มแข็ง
ยกระดับระบบบริการปฐมภูมิและอสมให้คนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจ าตัว 3 คน
พัฒนาระบบบริการทุติยภูมิให้เป็นจุดเชื่อมต่อที่มีประสิทธิภาพ
เศรษฐกิจสุขภาพ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและนวัตกรรมด้านสุขภาพ สร้างรายได้ให้กับประชาชนและประเทศ
บริหารด้วยหลักธรรมาภิบาล
ยึดหลักธรรมาภิบาล สุจริต โปร่งใส ประโยชน์ของประชาชน
สมุนไพร กัญชา กัญชง
เพื่อสุขภาพ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างครอบคลุม ปลอดภัยเกิดการเพิ่มมูลค่าทาง
เศรษฐกิจ
สุขภาพดีวิถีใหม
มุ่งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบ New Normal เน้นอาหาร ออกก าลังกาย เพื่อการมีสุขภาพด
หน่วยบริการก้าวหน้า
ให้ประชาชนเข้าถึงระบบบริการสุภาพ ลดความแออัด ลดรอคอย ด้วยการแพทย์วิถีใหม่
จัดระบบบริการให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่
ผลักดัน 30 บาทรักษาทุกท
กระบวนการนโยบายสาธารณะที่ดี
กระบวนการทางสังคม
กนโยบายสาธารณะกระทบสังคมทั้งหมดอย่างรุนแรง ดังนั้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคือสังคมควรได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดนโยบายโดยทำเป็น กระบวนการที่เปิดเผย โปร่งใส ทุกฝ่ายเข้าร่วมได้
กระบวนการทางศีลธรรม
นโยบายสาธารณะที่ดีต้องเป็นไปเพื่อความถูกต้องดีงามและเพื่อประโยชน์สุขของคนทั้งสังคมไม่แฝง เร้นเพื่อประโยชน์เฉพาะตนหรือเฉพาะกลุ่ม
กระบวนการทางปัญญา
มีการใช้หลักฐานข้อเท็จจริงที่ผ่านการศึกษาวิเคราะห์สังเคราะห์อย่างดีจนเป็นความรู้ที่เรียกว่าเป็นการ สร้างนโยบายบนฐานของความรู้ (knowledge – based policy formulation)
เครื่องมือสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
เครื่องมือพัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ (Policy Formulation Process)
เครื่องมือประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (Health Impact Assessment : HIA)
จุดอ่อนของนโยบายสาธารณะในสังคมไทย
การสร้างนโยบายสาธารณะ ขาดข้อมูลหลักฐานทางวิชาการที่มีน้ำหนักเพียงพอ
ขาดกระบวนการประเมินผลกระทบและการกำหนดทางเลือกที่หลากหลาย
ให้ความสำคัญของคุณค่าและมิติต่างๆ อย่างไม่สมดุล
ขาดระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลนโยบายสาธารณะต่าง ๆที่เกิดขึ้นและได้ลงมือดำเนินการไปแล้ว
ประชาชนเข้าไม่ถึงกระบวนการนโยบายสาธารณะ
องค์การอนามัยโลกให้ความหมายของนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพไว้ว่าคือ“นโยบายสาธารณะที่แสดงความ ห่วงใยอย่างชัดเจนในเรื่องสุขภาพพร้อมที่จะรับผิดชอบต่อผลกระทบทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากนโยบายนั้นขณะ เดียวกันก็เป็นนโยบายที่มุ่งสร้างเสริมสิ่งแวดล้อมทั้งทางสังคม และกายภาพที่เอื้อต่อการมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและมุ่งให้ ประชาชนมีทางเลือกและสามารถเข้าถึงทางเลือกที่ก่อให้เกิดสุขภาพดีได้”