Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนพัฒนาสุขภาพ (นโยบายสุขภาพ นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ) - Coggle Diagram
แผนพัฒนาสุขภาพ
(นโยบายสุขภาพ
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ)
นโยบายสุขภาพ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564
(นายอนุทิน ชาญวีรกูล)
สมุนไพร กัญชา กัญชง
สนับสนุน ส่งเสริม สมุนไพรไทย กัญชา กัญชง ให้เป็นพืชเศรษฐกิจที่มีคุณค่าทางการแพทย์ ต้องทำให้ประชาชนเข้าถึง และได้ใช้เพื่อสุขภาพ และได้ปลูกเพื่อพึ่งพาตนเอง โดยไม่ผิดกฎหมาย
COVID – 19
กระทรวงสาธารณสุขจะต้องเป็นองค์กรหลักในการบูรณาการสร้างระบบสาธารณสุขที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุดสำหรับประเทศไทยและคนไทยทุกคนที่อยู่ในประเทศไทย
เร่งสร้างเศรษฐกิจสุขภาพ
-ต้องเป็นกระทรวงที่สนับสนุน ส่งเสริม และสร้างเศรษฐกิจ สร้างธุรกิจ สร้างรายได้ ให้แก่ประชาชน เป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของประเทศ
30 บาทรักษาทุกท
ให้ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้อย่างมีคุณภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของหน่วยบริการเป็นอีกก้าวหนึ่งของระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย
ระบบสุขภาพปฐมภูมิเข้มแข็ง
-คนไทยทุกคนมีหมอ 3 คน เป็นหมอประจ าตัวหมอประจ าบ้าน (อสม.) หมออนามัย หมอครอบครัว ปี2564 จะเป็นปีแห่งการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ
บริหารด้วยธรรมาภิบาล
กระทรวงสาธารณสุข ต้องเป็นองค์กรต้นแบบด้านธรรมภิบาล ยึดหลักธรรมภิบาล สุจริต ประโยชน์ของประชาชน
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564
COVID -19
เพิ่มศักยภาพความมั่นคงทางสุขภาพในการจัดการกับโรคอุบัติใหม่ เป็นองค์กรหลักในการบูรณาการสร้างระบบสาธารณสุข ที่เหมาะสมส าหรับประเทศไทยและทุกคนที่อยู่ในประเทศไทย
สุขภาพดีวิถีใหม
มุ่งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบ New Normal เน้นอาหาร ออกก าลังกาย เพื่อการมีสุขภาพดี
หน่วยบริการก้าวหน้า
ผลักดัน 30 บาทรักษาทุกที่
ให้ประชาชนเข้าถึงระบบบริการสุภาพ ลดความแออัด ลดรอคอย ด้วยการแพทย์วิถีใหม่
จัดระบบบริการให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่
สมุนไพร กัญชา กัญชง
เพื่อสุขภาพ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างครอบคลุม ปลอดภัยเกิดการเพิ่มมูลค่าทาง
เศรษฐกิจ
ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
มุ่งเน้นการดูแลในกลุ่มเด็กปฐมวัย และผู้สูงอายุ
พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตเชิงรุก
เศรษฐกิจสุขภาพ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและนวัตกรรมด้านสุขภาพ สร้างรายได้ให้กับประชาชนและประเทศ
องค์กรแห่งความสุข
พัฒนาองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ งานได้ผล คนเป็นสุข สร้างผู้น ารุ่นใหม่ ให้สามารถดูแล สุขภาพประชาชนได้อย่างยั่งยืนปลอดภัยทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ (2P Safety)
ระบบสุขภาพปฐมภูมิเข้มแข็ง
ยกระดับระบบบริการปฐมภูมิและ อสม. ให้คนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจ าตัว 3 คน
พัฒนาระบบบริการทุติยภูมิให้เป็นจุดเชื่อมต่อที่มีประสิทธิภาพ
บริหารด้วยหลักธรรมาภิบาล
ยึดหลักธรรมาภิบาล สุจริต โปร่งใส ประโยชน์ของประชาชน
ความหมาย
นโยบายสุขภาพ(Health Policy) หมายถึงข้อความที่เป็นการประกาศอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับการดำเนินการเพื่อสุขภาพของประชาชน
นโยบายรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564
(นายสาธิต ปิตุเตชะ)
ดูแลสุขภาพกลุ่มวัยอย่างเป็นระบบ
พัฒนาเด็กปฐมวัย (Free-Fun-Family)
พัฒนาระบบสุขภาพผู้สูงอาย
การแพทย์วิถีใหม
การจัดบริการทางการแพทย์วิถีใหม่ ลดแออัด เพิ่มการเข้าถึง (New Normal Medical Care)
Digital Health
สถานพยาบาลปลอดภัย
สุขภาพวิถีใหม่
ส่งเสริมการออกก าลังกาย อาหารปลอดภัย
สุขภาพจิตเชิงรุก
Health Literacy เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ระบบสุขภาพปฐมภูมิ
ดูแลและพัฒนาศักยภาพ อสม.
นโยบายปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564
(นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต)
ระบบบริการก้าวหน้า
เสริมสร้าง พัฒนา Basic Excellence ให้มีศักยภาพ ครบคลุมทุกเขตสุขภาพ
New Normal Medical Care
ยกระดับสู่ Innovation Healthcare Management
สนับสนุน 30 บาท รักษาทุกที่
เศรษฐกิจสุขภาพ
เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจในผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ
ให้ความส าคัญกับสมุนไพร กัญชา กัญชง ทางการแพทย์
เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงอย่างปลอดภัย
ระบบสุขภาพ
มุ่งพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ
ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิ และ อสม. คนไทยทุกคนต้องมีหมอประจ าตัว 3 คน
ดูแลสุขภาพองค์รวม ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม
สุขภาพดีวิถีใหม่ (New Normal)
สร้างความมั่นใจและความพร้อมในการจัดการกับโรคอุบัติใหม่ COVID-19
สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพประชาชน สุขภาพดีวิถีใหม่ 3อ 2ส
ให้ความสำคัญสูงสุดต่อโครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรต
บริหารด้วยหลักธรรมภิบาล
บริหารด้วยหลักธรรมภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้
สร้างความปลอดภัยให้กับบุคลากรและผู้รับบริการ
งานได้ผล คนเป็นสุข มีความเป็นพี่ เพื่อน น้อง
สร้างผู้นำรุ่นใหม่ และพัฒนาคนให้เก่งกล้า (อัศวิน สธ.)
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
1.นโยบายส่งเสริมสุขภาพ
การลงทุนเพื่อสุขภาพอย่างถูกต้องและเพียงพอ
การผนึกและขยายภาคีเพื่อสุขภาพ
การพัฒนาโครงสร้างและกลไกที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ
การสร้างความรับผิดชอบร่วมกันในทุกส่วนของสังคม
การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
นโยบายการพัฒนาเด็กเพื่อสุขภาพ
การพัฒนาคุณภาพประชากรหรือคน จําเป็นต้องเน้นที่การพัฒนาเด็ก เพราะถ้าเด็กได้รับการอบรม เลี้ยงดูถูกต้องเหมาะสม ก็จะเป็นการวางรากฐานของชีวิตที่มั่นคง การพัฒนาคนจึงต้องเริ่มกันตั้ง แต่ช่วงวัยแรกเกิดจนถึงอายุ 5 ปีซึ่งเป็นวัยที่มีความพร้อมในการพัฒนาทุกด้าน โดยเฉพาะด้าน สมอง
ความหมาย
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Healthy public policy) คือ นโยบายสาธารณะที่แสดงความห่วง ใย อย่างชัดเจนเรื่องสุขภาพ ผู้กําหนดนโยบายพร้อมที่จะรับผิดชอบต่อผลกระทบด้านสุขภาพที่ อาจจะเกิดขึ้นจากนโยบายนั้น เป็นนโยบายที่มุ่งสร้างสภาพแวดล้อมทั้งทางสังคมและทางกาย ภาพที่เอื้อต่อการมีชีวิตที่มีสุขภาพดีเป็นนโยบายที่มุ่งทําให้พลเมืองมีทางเลือกและสามารถเข้าถึง ทางเลือกที่ก่อให้เกิดสุขภาพดี (WHO, 1988)
นโยบายสาธารณะ : กรณีการแก้ปัญหาบุหรี่
นโยบายในการควบคุมการจําหน่าย การขึ้นราคา การโฆษณาบุหรี่ และการบําบัดผู้เสพติดบุหรี่
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : กรณีการแก้ปัญหาโรคเอดส์
ให้การสนับสนุนงบประมาณ และมีการกําหนดโครงสร้างทางนโยบายเพื่อ ป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ที่ชัดเจนตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2531 เป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2534 รัฐบาลนาย อานันท์ ปันยารชุน ได้กําหนดให้คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์แห่งชาติเป็นองค์ กรประสานและบริหารนโยบาย ร่วมกับมีการผลักดันให้จัดตั้งหน่วยงานเพื่อทําหน้าที่ประสาน นโยบายเรื่องโรคเอดส์ สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี มีการตั้งงบประมาณซึ่งมุ่งเน้นในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
ใช้วิธีการสร้างกระแสสังคมเป็นยุทธศาสตร์หลัก รวมทั้งเปิดกว้างให้เอกชนสาธารณประโยชน์ขอรับงบประมาณจากภาครัฐไปดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับเอดส์
มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ปัญหาโรคเอดส์ซึ่งเริ่ม ดําเนินการครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2534 และครั้งที่สอง เมื่อ พ.ศ. 2538 โดยการมอบหมายให้สํานัก งานเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเข้าร่วมในการจัดทําแผนป้องกันและควบคุมโรคเอดส์แห่งชาติใน ลักษณะแผนยุทธศาสตร์ชาติ
5 นโยบายสาธารณะ : กรณีการแก้ปัญหายาบ้าสถานการณ์ปัญหายาบ้าในประเทศไทย
ประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกของอนุสัญญาเดี่ยวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961 และอนุสัญญาว่าด้วยวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ค.ศ. 1971 โดยได้ตรากฎหมายสองฉบับที่ มีเนื้อหาการดําเนินงาน การควบคุมและการแบ่งประเภทของยาเสพติดหรือวัตุออกฤทธ์ตามกฎ เกณฑ์ของอนุสัญญาทั้งสองคือ พ.ร.บ. วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2518 และ พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ตามลําดับ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทย ยังไม่ได้เป็นภาคีต่อ อนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการค้ายาเสพติดให้โทษและวัตถุออกฤทธ์ที่ผิดกฎหมาย ค.ศ. 1988