Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพของความเจ็บปวด การอักเสบ การบาดเจ็บ และภาวะไข้ - Coggle…
พยาธิสรีรภาพของความเจ็บปวด การอักเสบ
การบาดเจ็บ และภาวะไข้
ความเจ็บปวด
ความหมายของความเจ็บ ปวด
ทางพยาธิสรีรวิทยากล่าวว่าความเจ็บปวดเป็นกลไกในการป้องกันตนเอง เกิดจากการทำหน้าที่ของระบบประสาท ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ทำลายเซลล์ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของเซลล์ประสาทเกิดสัญญาณส่งผ่านไปยังระบบ ประสาทส่วนกลาง ทําให้เกิดการรับรู้ รู้สึกและเกิดการตอบสนองต่อสิ่งที่เป็นอันตราย
สรุป ความเจ็บปวดเป็นการตอบสนองของร่างกายเมื่อมีความผิดปกติที่เป็นอันตรายเกิดขึ้น ทำให้รู้สึกไม่สุขสบายหรือทุกข์ทรมานที่ผู้เจ็บปวดเท่านั้นจะรับรู้และบอกถึงความรู้สึกลักษณะของความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นได้
สาเหตุของความเจ็บปวด
1.การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ พบบ่อยท่ีสุด ได้แก่อุบัติเหตุ
2.การอักเสบหรือการติดเชื้อ เช่น ไส้ติ่งอักเสบ
3.การขาดเลือดหรือออกซิเจน เช่น ภาวะหัวใจขาดเลือด
ระบบประสาทถูกทำลาย เช่น เน้ืองอกในสมอง
5.อาการปวดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ เช่นตะคริวขณะออกกำลังกายฯ
การขยายตัวของอวัยวะ เช่น กระเพาะอาหาร
ความกดดันทางอารมณ์ เช่น ความเครียด
ชนิดของความเจ็บปวด
ปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการเกิดความเจ็บปวด
สิ่งกระตุ้นให้เกิดความเจ็บปวด (noxious stimulus or nociceptive stimuli)
ตัวรับความเจ็บปวด (pain receptors or nociceptors)
เป็นกลุ่มเซลล์ประสาทท่ีอยู่บนปลายประสาท axon
มีลักษณะเป็นปลายประสาทอิสระ (free nerve ending) กระจายอยู่ทั่วร่างกาย
เส้นใยประสาท (A-δ fibers และ C fibers)
การรับรู้ความเจ็บปวด (brain)
การตอบสนองต่อความเจ็บปวด (fight-or-flight)
กลไกการเจ็บปวด
Transduction
คือกระบวนการนากระแสประสาทที่เกิดข้ึนเมื่อเซลล์เนื้อเบื่อได้รับอันตรายจากสิ่งกระตุ้น (noxious stimuli) ไปกระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึกปวด (nociceptor) ทให้เกิดความต่างศักดิ์ไฟฟ้าเกิดเป็นกระแสประสาทส่งต่อไปยังไขสันหลัง
Transmission
คือขบวนการส่งกระแสประสาทความรู้สึกเมื่อมีการกระตุ้นความปวดผ่านปลายประสาทรับความรู้สึก จะเกิดกระบวนการส่งกระแสประสาทเข้าสู่ไขสันหลังและระบบประสาทส่วนกลาง โดยผ่านเส้นประสาทรับความรู้สึกส่วนปลาย (peripheral nerve) ไขสันหลังส่วนหลัง (dorsal horn) กลุ่มเส้นประสาทนำความรู้สึกเจ็บปวดขาข้ึน (ascending fiber) และ thalamus
Pain assessment
การประเมินความปวดโดยคำบอกเล่าของผู้ป่วย
การประเมินความปวดโดยใช้การสังเกตพฤติกรรม (behavioral assessment)
การประเมินทางด้านสรีรวิทยา(physiologicalassessment)
การอักเสบ (Inflammation)
กระบวนการตอบสนองที่ซับซ้อนของร่างกายที่มีต่อสิ่งท่ีก่อ
อันตรายต่อเน้ือเยื่อและเป็นปฏิกิริยาการตอบสนองเฉพาะ
ชนิดของการอักเสบ
1.การอักเสบเฉียบพลัน (Acuteinflammation)
กลไกการอักเสบเฉียบพลัน
การขยายตัวของหลอดเลือด
ทำให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นมีสีแดงมีอุณหภูมิสูงขึ้นและมีเลือดมาเลี้ยงมาก (hyperemia)
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของหลอดเลือด
เมื่อมีการรั่วไหลของของเหลวออกภายนอกหลอดเลือดเลือดจะข้นหนืดมากขึ้นและไหลช้าลง(stasis)
ผลจากการกระตุ้นของสารชักนำการอักเสบ เช่น histamine, bradykinin, leukotriene
เกิดการทำลายเซลล์ผนังหลอดเลือดโดยตรง (direct injury)
เกิดการรั่วไหลขณะเม็ดเลือดขาวไชทะลุผ่านผนังหลอดเลือด (leukocyte-dependent leakage)
เกิดการเพิ่มกระบวนการไหลซึมผ่านช่องว่างในเซลล์บุผนังหลอดเลือดที่เรียกว่า increased transcytosis
การสร้างเซลล์บุผนังหลอดเลือดใหม่ (regenerating endothelium)
การเคลื่อนตัวของเม็ดเลือดขาวออกจากหลอดเลือด
การอักเสบเรื้อรัง (Chronic inflammation)
สาเหตุสำคัญของการอักเสบเรื้อรัง ได้แก่ การติดเชื้อที่รักษาไม่หาย (persistent infection) ได้รับสิ่งที่เป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่อเป็นเวลานาน โรคภูมิต้านทานตนเอง (autoimmune disease)
ลักษณะสำคัญทางพยาธิวิทยาของการอักเสบเรื้อรัง
การแทรก (infiltration) ของเซลล์ชนิด mononuclear ได้แก่ macrophage lymphocyte และ plasma cell
การทำลายของเนื้อเยื่อ (tissue destruction)
3.การซ่อมแซมโดยการสร้างพังพืด (fibrosis) หรือ connective tissue มาแทนที่
กลไกการซ่อมแซมและการหาย
1.) การสร้างหลอดเลือดใหม่ (angiogenesis)
2.) มีการสร้างเซลล์ใหม่ข้ึนทดแทน (regeneration)
3.) เซลล์ parenchyma และ เซลล์ connective tissue สร้างเพิ่มมากข้ึนและเคลื่อนที่เข้าหากันเพื่อปิดบริเวณท่ีเป็นแผล
4.) สร้างสารโปรตีนชนิดบริเวณนอกเซลล์ (extracellular matrix proteins)
5.)ตกแต่งเน้ือเยื่อที่สร้างข้ึนใหม่(remodeling)
6.) สะสมเยื่อเกี่ยวพันชนิด collagen เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงแก่แผลท่ีสมานเรียบร้อย (collagenization)
ภาวะไข้ (Fever)
ไข้ หรือ อาการตัวร้อน(Fever; Pyrexia) เป็นอาการแสดงทางการแพทย์ที่พบบ่อย หมายถึง การเพิ่มของอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าค่าปกติคือ 36.5–37.5 °C
สาเหตุของไข้ การได้รับเชื้อโรค การบาดเจ็บของเซลล์ ความผิดปกติของระบบประสาท ยาและสารจากภายนอกร่างกายภาวะภูมิคุ้มกันต้านตนเองและภาวะภูมิคุ้มกันไวเกิน ภาวะทางอารมณ์ ภาวะขาดน้ำ โรคของต่อมไทรอยด์ เนื้องอกหรือมะเร็ง
กลไกเกิดไข้
นางสาวนพมาศ แสนทวีสุข UDA6380038