Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกายตั้งแต่หัวจรดเท้า - Coggle Diagram
การตรวจร่างกายตั้งแต่หัวจรดเท้า
General Appearance การดูส่วนของร่างกายทั่วๆไป
สุขภาพทั่วไปที่สังเกตเห็น
มีสุขภาพดี
เจ็บป่วยเฉียบพลัน
เจ็บป่วยมานานเรื้อรัง
หน้าและศรีษะ
หน้าตาสมวัยไหม
หน้าตาซีด/แดง/เขียว/บวม
นึกถึงโรคอะไรทันที
การเคลื่อนไหวผิดปกติ
ความรู้สึกตัว ความประพฤติ บุคลิก ลักษณะ
รู้สึกตัวดี
ง่วงซึม
กระสับกระส่าย
ง่วงงง
กึ่งโคม่า
โคม่า
คำพูด
อารมณ์ การแสดงออกทางสีหน้า
การหายใจผิดปกติ
การเจริญเติบโต
ภาวะด้านโภชนาการและนํ้าหนัก
มีความผิดปกติหรือพิการ
ลักษณะการเคลื่อนไหว
กลิ่น
กลิ่นปาก
กลิ่นตัวไม่สะอาด
กลิ่นแอลกอฮอล์
Skin & Nails
การดู Skin
สีผิว
ผิวซีด
โรคโลหิตจางและช็อก
ผิวเหลือง
โรคตับและถุงนํ้าดี
ผิวสีเขียวคลํ้า
ขาดออกซิเจน
ผิวสีแดง
พบ ภาวะมีไข้ อาย ดื่มสุรา
ลักษณะผิวหนัง
ปกติ
เรียบ เกลี้ยง ไม่หยาบ เป็นไปตามอายุขัย
ผิดปกติ
หยาบ ขรุขระ เป็นเกร็ดแห้ง เหี่ยวย่น
รอยโรคผิวหนัง
การคลำ Skin
ความตึงผิว
อุณหภูมิผิวหนัง
ความชุ่มชื้น
รอยโรคผิวหนัง
การบวม
การดูและคลำ Nails
สีของเล็บ
รูปร่างของเล็บ
รอยโรคของเล็บ
Head
การดู
ศรีษะ
ดูรูปร่าง ขนาดและความสมมาตร
ผม
ดูกระจายของเส้นผม ดูลักษณะว่าแตกแห้ง กรอบ ขาด ร่วง มีเหาหรือไม่
หนังศรีษะ
ดูการอักเสบ มีแผล รังแค ก้อนหรือสิ่งผิดปกติ
Face
การดู
ความสมมาตร
การแสดงออกของใบหน้า
รอยโรค
การเคลื่อนไหวผิดปกติ
การคลำ
กดเจ็บไหม
มีก้อนไหม
lymph node
Pre-auricular lymph node
หน้าหูบริเวณหน้า Tragus
Post- auricular lymph node
หลังหู ด้านบนของ mastoid process
Submental lymph node อยู่ใต้คาง
Submaxillary or submandible lymph node
อยู่ใต้ขากรรไกรล่าง
Tonsillar lymph node อยู่ใต้มุมขากรรไกร
ล่าง
ทดสอบเส้นประสาทสมอง
ทดสอบเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5
(ตรวจการรับความรู้สึกบริเวณใบหน้า)
บอกให้ผู้รับบริการหลับตา ใช้สําลีและ
ไม้ปลายแหลมแตะหน้าผาก แก้ม คาง ด้านซ้ายขวา
ถ้ารู้สึกให้บอกหรือพยักหน้า
Motor (ตรวจการทํางานของกล้ามเนื้อบดเคี้ยว )
บอกให้ผู้รับบริการกัดฟัน ผู้ตรวจคลําTemporal muscle และ masseter muscle ทั้ง 2ข้าง
ทดสอบเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7
บอกให้ผู้รับบริการ เลิกคิ้ว
หลับตาปี๋ ยิงฟัน
ทําปากจู๋เป่าลมแก้มป่อง
Eyes
การดู
ลักษณะตาภายนอก( External structure)
คิ้ว ตําแหน่งตา ลูกตา ม่านตา เปลือกตา ความชุ่มชื้น
การกระพริบตา ความนูนของลูกตาเพื่อดูตา
โปน(exopthalmos)
scleras and Conjunctiva (ตาขาวและเยื่อบุตา)
ใช้นิ้วหัวแม่มือวางบนเปลือกตาบน แล้วดึงขึ้น ให้ผู้รับบริการเหลือบมองปลายเท้า การตรวจด้านล่าง
ผู้ตรวจวางนิ้วหัวแม่มือบนเปลือกตาล่าง แล้วดึงลงให้ผู้ใช้บริการเหลือบ มองขึ้นข้างบน แล้วกรอกตามองซ้ายขวา สังเกตตาขาว เยื่อบุตา สีอะไร มีสิ่งแปลกปลอม แผล การบวม ลักษณะ หลอดเลือดที่ผิดปกติไหม
Corneas (กระจกตา)
ใช้ไฟฉายส่องจากด้านข้างให้ลําแสงฉายผ่าน
กระจกตาโดยเข้าทางด้านข้าง
การทดสอบ (Test)
visual field(การตรวจลานสายตา) (CN II:
Optic nerve)
ผู้ตรวจยืนห่างผู้รับบริการ 2 ฟุต
มองปลายจมูกของกันและกัน
ผู้ตรวจ เหยียดแขนออกไปด้านข้าง งอข้อมือ ให้นิ้วชี้และนิ้วกลางอยู๋ในระดับ
ผู้ตรวจค่อยๆเลื่อนมือที่ขยับไปมา เข้าหาผุ้รับบริการ เมื่อผู้รับบริการเริ่มเห็นนิ้วมือของผู้ตรวจให้ผู้รับบริการพยักหน้า
ผู้ตรวจเปรียบเทียบว่า จุดที่ผู้รับบริการเห็นนิ้วมือและพยักหน้านั้น เห็นพร้อมกับผู้ตรวจกรือไม่
ผู้ตรวจยกแขนขึ้นสูงสุด และด้านล่าง
ตามลําดับ
Visual acuity (การตรวจการมองเห็น) (CN
2: Optic nerve)
ใช้วิธี Reading test
บอกให้ผู้รับบริการปิดตาทีละข้าง
ผู้ตรวจวางกระดาษที่มีตัวหนังสือชนิดพิมพ์ในระดับสายตาและห่างตาประมาณ 14 นิ้ว
ผู้ตรวจชี้ตําแหน่งให้อ่าน
เมื่ออ่านแล้วให้เปลี่ยนไปตรวจตาอีกข้าง
ถ้าใช้แว่นตาหรือคอนแทกซ์เลนส์ ให้ใส่
ขณะตรวจด้วย
Extraocular muscle หรือExtraocular movement(ตรวจการทํางานของกล้ามเนื้อตา) (CN III, IV, VI)
บอกผู้รับบริการให้มองตามปลายนิ้วชี้ของ ผู้ตรวจ
ผู้ตรวจค่อยๆเลื่อนปลายนิ้วไปด้านขวามือ ช้าๆ และสังเกตการเคลื่อนไหวของลูกตา ผู้รับบริการ
เมื่อตาดําเคลื่อนมาอยู่หางตา ผู้ตรวจเลื่อนมือ กลับมาจุดเดิม ให้ตาดําอยู่ตรงกลาง
หมุนมือให้นิ้วชี้อยู่ในแนวขวาง
เลื่อนมือขึ้นข้างบน เมื่อผู้รับบริการกรอกตาขึ้น สูงสุดให้หยุด แล้วเลื่อนมือลงด้านล่าง
Test pupil react to light (การตรวจ ปฏิกิริยาของรูม่านตาต่อแสง) (CN3)
เป็นการ ตรวจขนาดของรูม่านตา รูปร่าง การตอบสนอง ต่อแสง เปรียบเทียบความเท่ากันของทั้ง 2ข้าง วิธีการตรวจ direct light reflex
ให้ผู้รับบริการมองไกลตรงไปข้างหน้า
ผู้ตรวจดูรูม่านตา ขนาด รูปร่าง ความเท่ากัน
ใช้ไฟฉายที่ลําแสงแคบ ส่องไฟจากด้านข้าง ผ่านไปที่รูม่านตาทีละข้าง
eye convergence หรือTest
Accommodation reflex(การตรวจปฏิกิริยา ปรับตาดูใกล้ไกล)
บอกให้ผู้รับบริการจ้องมองตามปลายนิ้วหรือ ปลายดินสอที่เคลื่อนเข้าหาดั้งจมูกของ
ผู้รับบริการ
ผู้ตรวจสังเกตรูม่านตาหดตัวผ่านการทํางาน ของCN 3 และการลู่เข้าของตาดํา
Ears
การดูหูภายนอก
รูปร่าง ตําแหน่งและผิวหนัง
ของใบหู และบริเวณใกล้เคียงมีก้อน ถุงนํ้า หรือ ตุ่มหนองหรือไม่
รูหู(Ear canals)
ใช้อุปกรณ์ช่วยคือ ไฟฉาย
โดยให้ผู้ใช้บริการเอียงศีรษะไปด้านตรงข้าม ผู้ตรวจดึงใบหู เพื่อปรับรูหูให้อยู่ในแนวตรงทํา ให้เห็นรูหูชัดเจน ซึ่งในผู้ใหญ่ให้จับใบหูดึงเฉียง ขึ้นด้านบนเปิ ดไฟฉาย ส่องดูในช่องหู สังเกตว่า มีขี้หูมีการอักเสบ หรือมีสิ่งคัดหลังอ่ อกมา หรือไม่
การคลําหู(Palpate): Tenderness
ผู้ตรวจใช้ใช้นิ้วหัวแม่มือ และนิ้วชี้คลําใบหู ทุกส่วน เพื่อประเมินว่ามีก้อน บวม กดเจ็บ หรือไม่
รายที่สงสัยว่ามีการอักเสบของหูส่วนนอก
เมื่อผู้ตรวจจับใบหูหรือติ่งหู ผู้ใช้บริการจะปวด มาก หรือ
ถ้ากดบริเวณกกหูแล้วปวด แสดงว่ามีการอักเสบ ของกระดูกมาสตอยด์ หรือต่อมนํ้าเหลืองหลังหู
การทดสอบการได้ยิน(Test hearing) (CN VIII : Auditory(Acoustic) nerve)
วิธีกระซิบ(Whispering test)
1.บอกผู้รับบริการว่าจะขอตรวจการได้ยิน หาก ได้ยินเสียงขอให้พูดตาม
2.ให้ผู้รับบริการใช้มือ อุดหูข้างที่ไม่ต้องการตรวจไว้
3.ผู้ตรวจยืนด้านหลังเยื้องห่างจากผู้ป่วย 2 ฟุต ด้านหูข้างที่ตรวจ
4.ผู้ตรวจพูดกระซิบ หรือพูดเป็นคําเบาๆ เช่น หนึ่ง สอง สาม
5.บอกให้ผู้รับบริการทวนคําพูดที่ได้ยิน
6.เริ่มตรวจการได้ยินของหูอีกข้างเช่นเดิม
วิธีฟังเสียงนาฬิกาเดิน
1.บอกผู้รับบริการให้ทราบว่าจะขอตรวจการได้ ยิน หากได้ยินเสียงขอให้บอก
2.ให้ผู้รับบริการช้นิ้วอุดหูข้างที่ไม่ต้องการ ตรวจไว้
3.ผู้ตรวจวางนาฬิกาห่างจากหูด้านหลัง 2-3 ซม. (ผู้รับบริการต้องไม่เห็นว่าใช้นาฬิกา)
4.บอกให้ผู้รับบริการบอกสิ่งที่ได้ยิน
5.เริ่มตรวจการได้ยินของหูอีกข้างเช่นเดิม
วิธีการทดสอบโดยใช้เสียงเสียดสีจากนิ้วมือ ใกล้ๆหูทีละข้าง
วิธีการใช้ส้อมเสียง(tuning fork tests)
Weber test เป็นการตรวจสอบการได้ยิน ของหูทั้ง 2ข้าง ว่าปกติหรือไม่
1.บอกผู้รับบริการให้ทราบว่าจะขอตรวจการได้ยิน
2.เคาะส้อมเสียงให้สั่นแล้ววางลงบนแนว กึ่งกลางศีรษะ ให้ส้อมเสียงอยู่ห่างจากหู ทั้ง 2 ข้างเท่ากัน
3.ถามผู้รับบริการว่ารู้สึกสั่นสะเทือนหรือได้ยิน เสียงจากหูข้างไหน เท่ากันไหม
4.ถ้าได้ยินเสียงไม่เท่ากันของหู 2ข้างควรตรวจ การได้ยินของหูแต่ละข้างต่อไป
Rinne test เป็นการตรวจการได้ยินของหู แต่ละข้าง มีขั้นตอนดังนี้
1.บอกผู้รับบริการให้ทราบว่าจะขอตรวจการได้ยิน
2.บอกผู้รับบริการว่าผู้ตรวจจะวางส้อมเสียงที่ เคาะแล้วไว้หลังใบหูบริเวณกระดูกหลังหู (mastoid process) จะรู้สึกสันสะเทือนถ้าความรู้สึกสันสะเทือนหยุดขอให้บอกผู้ตรวจ
3) เมื่อผู้รับบริการบอกหยุดสั่นสะเทือน ให้ ผู้ตรวจเอาส้อมเสียงมาวางไว้หน้าหูผู้รับบริการ แล้วถามว่าผู้รับบริการได้ยินเสียงหรือไม่
4) ตรวจหูอีกข้างด้วยวิธีเดียวกัน
Chest , Posterior &
Anterior
การดู
รูปร่างของทรวงอก
ดูความหนาหรือเส้นผ่าเส้นศูนย์กลางจาก ด้านหน้าไปด้านหลัง(antero –posterior diameter ; AP diameter) และดูความกว้างหรือ เส้นผ่าศูนย์กลางจากด้านซ้ายไปด้านขวา (lateral
เปรียบเทียบสัดส่วนของ antero –posterior diameterกับ transversediameter
ขนาดแต่ละข้าง สมมาตรไหม
การเคลื่อนไหวของทรวงอกขณะหายใจเข้า และออก
ผิวหนัง
การคลํา
คลําทัวไปบริเวณทรวงอก ่ หาตําแหน่งที่เจ็บ บริเวณที่มีความผิดปกติโดยค่อยๆ คลํา บริเวณที่ ผู้รับบริการบอกว่าเจ็บเบาๆ มีก้อน แผล ฝี หรือไม่
Thoracic expansion(คลําดูการเคลื่อนไหว ของทรวงอกและปอดทั้งสองข้าง) ขณะที่หายใจ เข้า -ออก
โดยผู้ตรวจวางมือทั้ง2 ข้าง ทาบลง ด้านหลังให้นิ้วหัวแม่มือวางขนานกันตรง ระหว่างกระดูกซี่โครงที่10 นิ้วที่เหลือทั้ง4 นิ้ว วางแผ่ไปตามแนวด้านข้างของขอบกระดูก ซี่โครง ให้ผู้รับบริการหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆ
Tactile fremitus (การคลําการสั่นสะเทือน ของเสียงสะท้อน)
การเคาะ
การเคาะปอดทางด้านหลังให้
ผู้รับบริการอยู่ในท่านัง่ เริ่มเคาะจากช่องซี่โครง ด้านบนไล่ลงด้านล่าง หรือเคาะที่ซี่โครงข้างซ้าย ครั้งหนึ่งข้างขวาครั้งหนึ่งในตําแหน่งที่ตรงกัน เพื่อเปรียบเทียบความโปร่งความทึบของปอดทั้ง 2 ข้างผู้ตรวจจะวางมือข้างหนึ่งโดยนิ้วกลางให้ แนบกับทรวงอกของผู้รับบริการและใช้ นิ้วกลางเคาะตรงตําแหน่งนิ้วกลางที่แนบกับ ทรวงอกของผู้รับบริการการตรวจโดยการเคาะ จะต้องเคาะทั้งด้านหน้า ด้านข้างและด้านหลัง
การฟัง ปอดใช้หูฟัง (Stethoscope) ด้านไดอะแฟรม(Diaphragm
(Diaphragm) ฟังปอดทั้งสอง ข้างระดับเดียวกันเปรียบเทียบกัน แนวการฟัง เช่นเดียวกับการเคาะ
เสียงหลอดลมใหญ่(Bronchial or tracheal breath sound)เป็นเสียงที่เกิดจากลมผ่าน เข้าออกในหลอดลมใหญ่ฟังได้ยินตรงตําแหน่ง ที่หลอดลมตั้งอยู่บริเวณคอด้านหน้าและคอ ด้านหลัง
เสียงหลอดลมและถุงลม (Broncho– Vesicular breath sound) ฟังได้ยินบริเวณ ส่วนกลางของทรวงอกด้านบน ทั้งด้านหน้าและ ด้านหลัง มีลักษณะเป็นเสียงผสมระหว่างเสียง ถุงลมกับเสียงหลอดลม
เสียงถุงลม (Vesicular breath sound) ฟัง บริเวณทรวงอกตรงตําแหน่งของปอดทั้ง2 ข้าง
ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง เป็นเสียงที่เกิดจากลม ผ่านเข้าออกในเนื้อเยื่อปอด
Nose
การดูจมูก
ลักษณะภายนอก (External)
symmetry
lesions
Alae nasi(ปีกจมูก)
มีการบานออกและหุบเข้า ในขณะหายใจเข้า -ออกไหม
รูจมูก(Nares)
ให้ผู้รับบริการแหงนหน้าขึ้นเล็กน้อย ผู้ตรวจ ใช้นิ้วหัวแม่มือแตะจมูกและนิ้วกลางแตะบริเวณ ศีรษะแล้วดึงรั้งจมูกขึ้น ขณะเดียวกันผู้ตรวจใช้ ไฟฉายส่องเข้าไปในรูจมูก
เยื่อบุจมูก(nasal mucosa)
ผนังกั้นช่องจมูก(septum)
เยื่อบุจมูกที่คลุมเทอร์บิเนต(turbinates)
การคลํา(Palpate)
ตรวจ Sinus tenderness
Frontal sinuses
ผู้ตรวจใช้นิ้วหัวแม่มือกดและดันขึ้นเหนือลูกตา บริเวณหัวคิ้ว ดูว่าผู้รับบริการมีอาการกดเจ็บ ไหม
Maxillary sinuses
ผู้ตรวจใช้นิ้วหัวแม่มือกดและดันขึ้นที่โหนก แก้มระดับเดียวกับปีกจมูก ดูว่าผู้รับบริการมี อาการกดเจ็บไหม
ทดสอบการได้กลิ่น (Test Smelling)(Cr.N.I: Olfactory nerve)
1) ตรวจรูจมูก 2 ข้างไม่ตัน
2) บอกให้หลับตา
3) อุดจมูกทีละข้าง
4) ผู้ตรวจเตรียมกลิ่นสิ่งของที่ผู้รับบริการรู้จัก เช่น สบู่ แอมโมเนีย ฯลฯ และให้บอกว่ากลิ่น อะไร
จุดสําคัญคือ ผู้รับบริการต้องไม่เห็นสิ่งของ ก่อนทดสอบเพื่อการแปลผลที่ถูกต้อง
Mouth & Throat
การดูปาก
ริมฝีปาก(Lip)
color
moisture
lesion
เยื่อบุกระพุ้งแก้ม (Buccal mucosa)
lesion
color
เหงือก(gum)
color
lesion
ฟัน (teeth)
ลิ้น(Tongue)
ขนาด (size)
สีและรอยโรค(color & lesion)
การเคลื่อนไหวของลิ้น(movement)โดยให้ ผู้รับบริการแลบลิ้นออกมาเต็มที่ ตรวจCranial nerve 12 (CN 12) Hypoglossal nerve สังเกต รูปร่าง การเอียง การสั่น การเหี่ยวฝ่ อของลิ้น
ต่อมทอนซิล(Tonsils)
ขนาดของต่อมทอนซิลโต
pharynx(คอด้านใน)
แดง มีตุ่ม มีเยื่อเมือกหรือไม่
เพดานปาก(palate)
ปุ่ มเพดาน(torus palatinus) คือปุ่ มกระดูกใน บริเวณตรงกลางเพดานปาก ถ้าไม่อักเสบไม่ต้อง ทําการผ่าตัด หรือรักษาเพราะไม่มีอันตราย
ลิ้นไก่(uvula)
ดูลิ้นไก่เอียงหรือเฉหรือไม่
ทดสอบการรับรส(Test Taste)
1) บอกให้ผู้รับบริการหลับตาและอ้าปาก
2) ผู้ตรวจใช้ไม้แตะเกลือหรือนํ้าตาล วางบน บริเวณ 2 ใน 3 ส่วนทางด้านหน้าของลิ้น
3) ผู้รับบริการบอกว่ารสเกลือหรือนํ้าตาล
Neck
การดู (Inspect)
Symmetry
Lesions
Thyroid gland
Neck vein
engorgement (เส้นเลือด ดําข้างคอขยายใหญ่และมีเลือดคั่ง)
ดูบริเวณข้างคอด้านขวาของผู้รับบริการในท่านังหรือท่ายืน ่ พบเส้นเลือดดําข้างคอขยายและ มีเลือดคั่ง ไหม
การคลํา(Palpate)
Trachea (หลอดลม)
ผู้ตรวจวางนิ้วชี้ที่supra sternal notch แล้ว เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงขึ้นข้างบน
Thyroid gland (ต่อมไทรอยด์)
คลําจากด้านหน้า
ถ้าคลําlobe ขวา ให้ผู้รับบริการเอียงศีรษะไป ทางขวาและก้มหน้าเล็กน้อย
ใช้นิ้วหัวแม่มือขวาดันหลอดลมตรงตําแหน่ง Cricoid cartilage เบาๆ
จับ lobe ขวา ด้วย นิ้วชี้ นิ้วกลาง และหัวแม่มือซ้าย
-คลําว่ามีขนาดโตหรือมีก้อนหรือไม่ -ขนาด รูปร่างความแข็งนิ่ม
-กดเจ็บไหม
คลํา lobe ซ้ายเช่นเดียวกัน
ต่อมไทรอยด์ปกติ: ไม่โต ไม่มีก้อน กดไม่เจ็บ
ปกติ: คลําไม่พบต่อม นํ้าเหลือง
Breasts
การดู
ขนาดของเต้านมทั้งสองข้างเท่ากันหรือไม่
รูปร่างของเต้านม สังเกตเห็นรอยบุ๋มหรือมี ก้อนหรือไม่
หัวนมและลานหัวนมมีลักษณะอย่างไร ผิดปกติไหม
ลักษณะของผิวหนัง เช่นแผล ผื่นคัน เส้น เลือดโป่ งพอง ผิวขุรขระคล้ายผิวส้ม
การคลํา
ใช้อุ้งนิ้วมือของนิ้วชี้กลางและนาง ตรวจ โดยสัมผัสให้พอดีไม่แรงจนเกินไป การคลําเต้า
1)การคลําในแนวก้นหอย
2)การคลําในแนวรูปลิ่ม
3) การคลําในแนวขึ้นลงจากใต้เต้านมจนถึง บริเวณไหปลาร้า
ถ้าคลําพบก้อนให้ระบุว่า ตําแหน่งของก้อน อยู่ในส่วนไหนของเต้านมขนาดของก้อนโต ประมาณกี่เซนติเมตรลักษณะของก้อนกลม เรียบ หรือแบนหรือขรุขระเป็นตะปุ่ มตะปํ่าแข็ง หรืออ่อนนุ่ม และสามารถขยับไปมาได้หรือไม่
ขนาดแตกต่างกันอย่างชัดเจน มี รอยบุ๋ม ก้อน บวมหรือ ดู หนาตัวขึ้นกว่าเดิม บวม แดง ซึ่งอาจเกิดจากการ อักเสบ เส้นเลือดโป่ งพอง ผื่นคัน หรือเป็นแผล
ถ้าผิวตรงกลาง บริเวณที่มีก้อนหรือรอยบุ๋ม (Skin dimpling) หรือหนา ตัวขึ้นคล้ายหนังหมู(Pig skin) ให้นึกถึงมะเร็ง
การคลําต่อมนํ้าเหลือง
เพื่อค้นหาความผิดปกติของต่อมนํ้าเหลืองว่าโต หรือ บวม เจ็บไหม
1) Cervical nodes (มีตรวจแล้วในคอ)
2) Supraclavicular nodes(มีตรวจแล้วในคอ)
3) Infraclavicular nodes
4) Axillary nodes
Lateral
Central
Anterior
Posterior
Heart
การดูลักษณะทั่วไป
-รูปร่างของทรวงอกอาการกระวนกระวาย
เหงื่อออก หอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ท่าทาง
อ่อนเพลีย ซีด สีผิวลักษณะของผิวหนังอาจมี
อาการบวมกดบุ๋ม (Pitting edema) เนื่องจากมี
แรงดันของนํ้าในหลอดเลือดสูงอาจพบ spider nervi หลอดเลือดดําที่ผนังทรวงอกหรือหลอดเลือดดําที่ผนังทรวงอกขยายใหญ่ โป่งผิดปกติ หรือไม่
สังเกตแรงกระทบที่ยอดหัวใจ (Apex) ซึ่งถ้าแรงกว่าปกติ แสดงว่าเวนตริเคิลซ้ายมีHypertrophy
ก้นกบเมื่อบวมมากขึ้นจะพบในตําแหน่งสูงมากขึ้น เช่น แขน ขา หน้าท้อง ใบหน้า
การตรวจดูหลอดเลือดดําที่คอ(Jugular vein)
เพื่อประเมินค่าแรงดันเลือดดํา (Jugular venous pressure) โดยการสังเกตหลอดเลือดดําบริเวณคอ(Internal jugular vein)
การดูPulsation/ Thrillเป็นการดูการเต้น
ของชีพจรบริเวณหน้าอกในบริเวณ
AVA (Aortic vulvular area) บริเวณช่อง
ซี่โครงที่2 ข้างขวาของกระดูกหน้าอก
-PVA (Pulmonic vulvular area)บริเวณช่อง
ซี่โครงที่2 ข้างซ้ายของกระดูกหน้าอก
TVA (Tricuspid vulvular area)บริเวณช่อง
ซี่โครงที่5 ข้างซ้ายของกระดูกหน้าอก
MVA (Mital vulvular area) บริเวณช่องซี่โครงที่5 ข้างซ้ายของกระดูกหน้าอก บริเวณ Mid clavicular line
การฟัง
การฟังหัวใจใช้ฟังตําแหน่งเช่นเดียวกับการดู
การดูHeaveจะเห็นการยกตัวขึ้นของผนังทรวงอกที่บริเวณหัวใจเป็นแรงกระเพื่อม จะพบในกรณีที่หัวใจทํางานหนักหรือหัวใจโต
การคลํา
คลํายอดหัวใจ(Apical impulse)
คลํา Pulsation และ Thrill
คลํา Heave
คลําชีพจร(pulsation)
อัตราการเต้นของชีพจรจังหวะ จํานวนครั้งลักษณะของชีพจร ในการจับชีพจรควรจับให้ครบ 1 นาที
ตําแหน่งชีพจร
Temporal เส้นเลือดเท็มพอรัสทอดผ่าน
เหนือกระดูก เท็มพอรัลของศีรษะ
Carotid อยู่ด้านข้างของคอ คลําได้ชัดเจนจุด
บริเวณมุมขากรรไกรล่าง
Brachial อยู่ด้านในของกล้ามเนื้อ biceps
ของแขน
Radial อยู่ข้อมือด้านในบริเวณกระดูกปลายแขนด้านนอกหรือด้านหัวแม่มือ เป็นตําแหน่งที่นิยมจับชีพจรมากที่สุด เพราะเป็นที่จับได้ง่ายและไม่รบกวนผู้ป่วย
Femoral อยู่บริเวณขาหนีบ
Popliteal อยู่บริเวณข้อพับเข่า อยู่ตรงกลาง
ข้อพับเข่า
Posterior tibial อยู่บริเวณหลังปุ่ มกระดูกข้อ
เท้าด้านใน
Dorsalis pedis อยู่บริเวณหลังเท้าชีพจรที่จับได้จะอยู่กลางหลังเท้าระหว่างนิ้วหัวแม่เท้ากับนิ้วชี้
Abdomen
เตรียมอุปกรณ์ ได้แก่Stethoscope ไม้บรรทัด
เตรียมผู้รับบริการ
-แจ้งวัตถุประสงค์ในการตรวจ
ให้ผู้รับบริการนอนราบหนุนหมอน วางมือทั้งสองข้างไว้ด้านข้างลําตัว ใช้ผ้าหรือหมอนใบเล็กรองใต้เข่าเพื่อให้ผู้รับบริการรู้สึกสุขสบายมากขึ้นใช้ผ้าคลุมบริเวณหน้าอกและขา โดยเปิดส่วนท้องตั้งแต่บริเวณลิ้นปี่ จนถึงเหนือหัวหน่าว
การแบ่งเส้นสมมติ
เส้นที่ 1 ลากเส้นสมมติจากขอบกระดูกเชิงกรานด้านขวา (Right iliac crest) ผ่านสะดือจนถึงขอบกระดูกเชิงกรานด้านซ้าย (Left iliac crest)เส้นที่ 2 ลากเส้นสมมติในแนวตั้งจากลิ้นปี่ (Xiphoid process) ผ่านสะดือมาจนถึงกระดูกหัวหน่าว (Symphysis Pubis)
การดู
ดูรูปร่างลักษณะหน้าท้อง (Contour) ดูระดับ
ของหน้าท้องตั้งแต่หน้าอก ถึง หัวหน่าว
ดูความสมมาตร (Symmetry)
ดูสีผิวหนังบริเวณหน้าท้อง (Color)
ดูรอยโรคหรือลายหน้าท้อง (Lesion or Striae)
ดูหลอดเลือดบริเวณหน้าท้อง สังเกตการโป่ งนูน
ของหลอดเลือดบริเวณหน้าท้อง
การฟัง
การฟังเสียงการบีบตัวของลําไส้ (Bowel sound)
ใช้Stethoscope ด้าน diaphragm วางบนผนังหน้าท้องของผู้รับบริการ ฟังให้ทั่วทั้ง 4 quadrants
วางหูฟัง (Stethoscope) บนผนังหน้าท้องด้านขวาล่าง (Right lower quadrant: RLQ) ซึ่งเป็นตําแหน่งของรอยต่อระหว่างลําไส้เล็กส่วนปลายและลําไส้ใหญ่ (Ileocecal valve) จะได้ยินเสียงของลําไส้ชัดเจนที่สุดและนับเสียงการเคลื่อนไหวของลําไส้ 1 นาที
การฟังเสียงหลอดเลือด (Vascular sound)ใช้ Stethoscope วางเหนือตําแหน่งของหลอดเลือด Aorta, Renal arteries, Iliac arteries และ Femoral arteries
การเคาะ (Percussion)
การเคาะทั่วท้อง
การเคาะเป็นวงกลมตามเข็มนาฬิกา
การเคาะขึ้น ลง
การเคาะหาขอบเขตของตับ
เคาะหาขอบบนของตับโดยผู้ตรวจวางนิ้วกลางของมือข้างที่ไม่ถนัดบริเวณช่องซี่โครงที่2(Intercostal space 2 )แนวเส้นกึ่งกลางไหปลาร้า(Midclavicular line)
เริ่มเคาะไล่ลงมาตามช่องซี่โครง จนได้ยินเสียงเปลี่ยนจากโปร่งเป็นทึบ โดยปกติเสียงจะเปลี่ยนบริเวณช่องซี่โครงที่ 5, 6 หรือบริเวณใต้ราวนมตําแหน่งดังกล่าวเป็นขอบบนของตับ
หลังจากนั้นเคาะหาขอบล่างของตับโดย เริ่มเคาะจากบริเวณหน้าท้อง ด้านขวาล่าง (Right lower quadrant: RLQ) ในแนวเส้นกึ่งกลางไหปลาร้าขึ้นมาจนเสียงเปลี่ยนจากเสียงโปร่งเป็นเสียงทึบตําแหน่งที่เสียงเปลี่ยนคือขอบล่างของตับ
ผู้ตรวจทําการวัดระยะห่างระหว่างขอบบนและ
ขอบล่างของตับ
การเคาะหานํ้าในช่องท้อง
เคาะหาเสียงทึบที่เปลี่ยนได้(Shifting dullness)
ผู้รับบริการนอนหงายราบ ผู้ตรวจเริ่มเคาะจากสะดือลงมาทางข้างซ้ายหรือทางขวาจนเสียงเปลี่ยนจากโปร่งเป็นทึบบริเวณที่เสียงเปลี่ยนนี้เป็นระดับของนํ้าที่ค้างอยู่ในช่องท้อง ซึ่งจะพบในผู้ป่วยท้องมาน
หลังจากนั้นให้ผู้รับบริการพลิกตัวตะแคงมาด้าน
ที่ผู้ตรวจเคาะ
ผู้ตรวจเคาะย้อนขึ้นไปจากตําแหน่งที่เสียงเปลี่ยนไปจะพบว่าตําแหน่งที่เคยเป็นเสียงโปร่งจะเปลี่ยนเป็นเสียงทึบเนื่องจากเมื่อผู้ป่วยตะแคงตัวนํ้าที่อยู่ในช่องท้องจะไหลรวมด้านข้างที่ตะแคงทําให้เคาะได้เสียงทึบ
การเคาะการกระเพื่อมของนํ้า (Fluid thrill)
ให้ผู้รับบริการนอนหงายและใช้สันมือ
ของผู้รับบริการกดลงบริเวณกึ่งกลางหน้าท้อง
ผู้ตรวจวางฝ่ามือทาบบริเวณเอวของ
ผู้รับบริการ
ผู้ตรวจใช้มืออีกข้างเคาะเบา ๆ บริเวณเอว
ของผู้ป่วยด้านตรงข้าม
การคลํา
การคลําทั่วท้อง
คลําตื้น ใช้อุ้งนิ้วมือทั้ง 4 นิ้ว กดลงบริเวณหน้าท้องประมาณ 1 เซนติเมตร อย่างนุ่มนวลคลําวนไปตามเข็มนาฬิกา เริ่มจากรอบสะดือจนทั่วท้อง และขณะคลําห้ามยกมือ
คลําลึกใช้อุ้งนิ้วมือกดลงลึกประมาณ 5 –8 ซม.คลําวนไปทั่วท้องตามเข็มนาฬิกา เป็นการคลําเพื่อหาความผิดปกติในช่องท้อง
การคลําตับ
ผู้ตรวจเข้าทางด้านขวาของผู้รับบริการ ใช้มือซ้ายวางรองที่หลังของบริเวณตําแหน่งซี่โครงที่11-12ใช้มือขวาวางบริเวณหน้าท้องด้านขวาล่าง(RLQ) ในแนวกึ่งกลางของซี่โครงขวา
เริ่มคลําจากหน้าท้องด้านขวาล่างโดยกด
อุ้งมือลงและดันขึ้นขณะผู้ป่ วยหายใจเข้า
การคลําม้าม
ผู้ตรวจเข้าทางด้านขวา เอื้อมมือซ้ายข้ามตัวผู้รับบริการไปรองบริเวณซี่โครงที่ 11-12
ผู้ตรวจใช้มือขวาวางในแนวขวางบริเวณหน้าท้องด้านบนซ้าย (LUQ) ปลายนิ้วเฉียงไปทาง รักแร้ อยู่ด้านหน้าของกระดูกซี่โครง
กดมือขวาลึกลงใต้ขอบซี่โครงด้านซ้ายของผู้รับบริการและให้ผู้รับบริการหายใจเข้าลึก ๆ(ปกติไม่รู้สึกว่าคลําได้อะไรแต่เมื่อมีม้ามโตจะรู้สึกว่าม้ามมาชนปลายนิ้วให้ทําการคลําม้ามด้วยวิธีการเดิมแต่ให้ผู้ป่ วยเปลี่ยนท่านอน เป็นนอนตะแคงขวางอสะโพก)
การเคาะไต
ผู้ตรวจใช้มือซ้ายวางบริเวณด้านหลังของคนไข้ บริเวณมุมระหว่างกระดูกสันหลังและแนวกระดูกซี่โครง (Costovertebral angle)
ใช้กําปั้นมือขวาทุบลงบนมือซ้ายที่วางอยู่
ที่ตําแหน่ง CVA
Musculoskeletal การตรวจกระดูกและข้อ
1)ตรวจการเคลื่อนไหวให้ผู้ป่ วยเดินไปมา และ
สังเกตท่าเดินว่าผิดปกติหรือไม่
2)ตรวจขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อ(Range of motion) ให้ผู้ป่วยทําเอง (ยกเว้นในรายที่ผู้ป่วยอ่อนแอพยาบาลเป็นผู้ทําให้)
3)คลําดูความผิดปกติของข้อต่าง ๆ คลําตามข้อต่างๆ เพื่อตรวจดูการบวม แดง ร้อนลักษณะของข้อเป็นอย่างไร ปกติข้อไม่บวม แดงร้อนหรือผิดรูปร่าง
6)ทดสอบกําลังของกล้ามเนื้อ(Muscle power)โดยประเมินจากแรงต้าน แบ่งระดับกําลังของกล้ามเนื้อเป็น 5 ระดับ
เกรด 5 ปกติ
เกรด 4 แรงต้านของผู้ตรวจได้แต่น้อยกว่าปกติ
เกรด 3 ทานแรงต้านของผู้ตรวจไม่ได้แต่ต้านแรง
โน้มถ่วงได้
เกรด 2 ทานแรงโน้มถ่วงไม่ได้แต่เคลื่อนตาม
แนวราบได้
เกรด 2 ทานแรงโน้มถ่วงไม่ได้แต่เคลื่อนตาม
แนวราบได้
เกรด 0 ไม่มีการหดตัวของกล้ามเนื้อเลย
4)การตรวจกล้ามเนื้อทดสอบการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อแขนให้ผู้ป่วยยืนตรง หลับตาแล้วเหยียดแขนทั้งสองไปข้างหน้า หงายฝ่ามื้อขึ้น (Supination) ให้คงท่านี้นาน 20-30 วินาที สังเกตว่าแขนข้างใดข้างหนึ่งตกลงตํ่ากว่าระดับเดิมหรือไม่หรือเปลี่ยนเป็นท่าควํ่ามือ(Pronation)
9)ตรวจกําลังของข้อมือโดยวิธีFlexion ที่ข้อมือให้ผู้ป่วยหงายแขนและกําหมัด ผู้ตรวจจับกําหมัดของผู้ป่วยกดลง ให้ผู้ป่วยพยายามงอข้อมือสู้แรงต้านของผู้ตรวจ
10)ตรวจกําลังของข้อมือโดยวิธีExtension ที่ข้อมือให้ผู้ป่วยควํ่าแขนและกําหมัด ผู้ตรวจจับกําหมัดของผู้ป่วยหงายขึ้นให้
ผู้ป่วยพยายามงอข้อมือสู้แรงต้านของผู้ตรวจ
11)Hand grip ให้ผู้ป่วยกํามือบีบนิ้วชี้และนิ้วกลางของผู้ตรวจให้แน่น เพื่อทดสอบกล้ามเนื้อที่ทําหน้าที่กําหรือยึดจับ
ทดสอบกําลังของกล้ามเนื้อที่สะโพก
12)ทดสอบการ flexionของสะโพก ให้ผู้ป่วยนอนหงายเหยียดเข่าแล้วยกขาขึ้นจากเตียงผู้ตรวจใช้มือกดเหนือเข่าผู้ป่วยเพื่อต้านไว้
13)ทดสอบ extensionของสะโพก ให้ผู้ป่วยนอนหงายเหยียดเข่า ผู้ตรวจจับข้อเท้าด้านหลังของผู้ป่วยแล้วให้ผู้ป่วยพยายามกดต้นขาและปลายเท้าลง ต้านแรงของผู้ตรวจ
5)ตรวจความตึงตัวของกล้ามเนื้อ(Muscle tone)โดยการจับแขนหรือขาผู้ป่วยให้เคลื่อนไหวจนสุดระยะการเคลื่อนไหวของข้อนั้น ๆ ทุกทิศทาง
7)ตรวจกําลังกล้ามเนื้อไหล่ให้ผู้ป่วยกางแขน งอข้อศอกและดันแขนขึ้นในขณะที่ผู้ตรวจกดแขนผู้ป่วยให้แนบตัว
ให้ผู้ป่วยกางแขนออกและพยายามหุบแขนเข้าหาผู้ตรวจขณะที่ผู้ตรวจใช้แรงต้านไว้
8)ตรวจกําลังกล้ามเนื้อbiceps ให้ผู้ป่วยพยายามงอข้อศอกโดยปลายแขนอยู่ในท่า supination ผู้ตรวจออกแรงต้านไว้
ทดสอบกําลังของกล้ามเนื้อที่เข่า
14)ทดสอบการflexion ที่เข่า ให้ผู้ป่วยนอนหวายงอเข่าและกดฝ่าเท้าลงกับเตียง ผู้ตรวจจับเหนือเข่าอีกมืออ้อมจับหลังข้อเท้า พยายามเหยียดเข่าออก
15)ทดสอบการ extension ที่เข่า ผู้ตรวจพยุงใต้เข่าและจับข้อเท้าผู้ป่วยไว้แล้วให้ผู้ป่วย พยายามเหยียดเข่าออกขณะที่ผู้ตรวจออกแรงต้านไว้
ทดสอบกําลังของกล้ามเนื้อที่ข้อเท้า
16)ทดสอบการ flexion ที่ข้อเท้า ให้ผู้ป่วยเหยียดขาผู้ตรวจจับที่ข้อเท้าผู้ป่วย อีกมือจับที่ฝ่าเท้าผู้ป่วยให้ผู้ป่วยพยายามกดปลายเท้าต้านแรงดันของผู้ตรวจ
17)ทดสอบการ extension ที่ข้อเท้า ให้ผู้ป่วยเหยียดขา ผู้ตรวจจับที่ข้อเท้าผู้ป่วยอีกมือจับที่หลังเท้าผู้ป่วยให้ผู้ป่วยพยายามกระดกปลายเท้าขึ้น ดันมือของผู้ตรวจที่หลังเท้า
Neurologic and Motor function การตรวจระบบประสาท
1) การตรวจประสาทสมอง 12 คู่(รายละเอียดอยู่ในระบบก่อนหน้านี้)
2)การตรวจความรู้สึกทดสอบความรู้สึกเจ็บด้วยเข็มกลัด ด้านทู่สลับกับด้านแหลมโดยวิธีสุ่มตรวจ และให้ผู้ป่ วยบอกว่าทู่หรือแหลม
ประสาท (Co-ordination)โดยทดสอบ Point topoint testing หรือ finger to nose to fingerผู้ตรวจยกนิ้วชี้ขึ้น ห่างจากผู้ป่วยเกือบสุดแขนผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยใช้ปลายนิ้วแตะปลายจมูกไว้แล้วไปแตะปลายนิ้วของผู้ตรวจ ผู้ตรวจเปลี่ยนตําแหน่งนิ้วๆไปเรื่อย ๆ ทําหลายๆครั้ง
4)ทดสอบ Rombergให้ผู้ป่วยยืนตรงเท้าชิด ลืมตา ศีรษะตรง สังเกตว่าผู้ป่วยยืนตรงได้หรือไม่ หรืออาจให้ผู้ป่วยหลับตาและผู้ตรวจยืนใกล้ ๆ คอยระวัง สังเกตว่า ผู้ป่วยเสียการทรงตัวหรือเซไปข้างใดข้างหนึ่งหรือไม่
5)การตรวจ Deep Tendon Reflex
5.1) ตรวจ Knee Reflexให้ผู้ป่ วยนัง่ ห้อยเท้าตามสบาย ที่ขอบเตียงเคาะที่ Patellar tendon
5.2) ตรวจ Plantar Reflex หรือ Babinski’s signให้ผู้ป่วยนอนหงายไม่เกร็งหน้าท้อง
ใช้ปลายที่เคาะ ขีดโค้งตามส้นเท้าขึ้นไปจนใกล้ โคนนิ้วก้อยถึงโคนนิ้วหัวแม่เท้า