Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการระบบความปลอดภัยด้านยาของผู้ป่วย (Medication safety Management) …
การจัดการระบบความปลอดภัยด้านยาของผู้ป่วย (Medication safety Management)
มาตราการความปลอดภัยด้านยาตาม SIMPLE 2018
M2: Safe from Medication Error
M2.2 Safe from using medication
Goals: เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้ยาทุกขั้นตอน
ทำไมถึงเกิดความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
ขาดการสื่อสารระหว่างผู้สั่งยา ผู้จ่ายยา ผู้ให้ยา และผู้ป่วย
อัตรากำลังไม่เหมาะสมกับภาระงาน
ขาดการตรวจสอบซ้ำจากบุคคลอื่น
Double check: ขาดการตรวจสอบซ้ำจากบุคคลเดียวกัน
ขาดการฝึกปฏิบัติงานหรือเน้นให้เห็นถึงความสำคัญการปฏิบัติตามขั้นตอน
MAR คืออะไร?
เอกสารทางกฎหมายที่บ่งบอกยาที่ผู้ป่วยได้รับอย่างแท้จริง เป็นเครื่องมือหนึ่งที่บุคลากรทางการแพทย์นำมาใช้ประโยชน์เกี่ยวกับระบบยา เพื่อดูแลผู้ป่วย
M1: safe from adverse drug events (ADEs)
M1.2 safe from preventable (ADRs)
Goals: ผู้ป่วยปลอดภัยจากการแพ้ยาซ้ำและแพ้ยากลุ่มเดียวกัน
เกิด ADR ดูยังไง?
ผื่นแพ้ยา ตัวเหลือง ตาเหลืองงจากตับอักเสบ
ผลแลป (BUN, Cr, เอนไซม์ค่าตับ สูง), INR สูง, Plt ลดลง
เกิด ADR ทำยังไง?
พยาบาล/ แพทย์ เจอผู้ป่วย ADR notify เภสัชกร ประเมินอาการแพ้ยา แก้ไขโดย ให้ข้อมูลแพทย์ถึงยาที่สงสัยว่าเป็นสาเหตุ, ติด sticker หน้าชาร์ต มอบบัตรแพ้ยาให้แก่ผู้ป่วย, บันทึกลงโปรแกรมคอมฯ
นอกจากต้องเฝ้าระวัง ADR ในกลุ่มที่ไม่แพ้ด้วย
Start ยากลุ่มเสี่ยง พวก High alert drug, TI แคบ, ADR รุนแรงเช่น anaphylaxis, ยาที่ทำให้ไต/ ตับบกพร่อง
Start ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้สูงอายุ, ผู้ป่วยเด็ก, กลุ่มผู้ป่วย HIV, โรคเรื้อรังหลายชนิด
M1.3 Safe from fatal drug interaction
Goals: ผู้ป่วยปลอดภัยจากเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาที่มีสาเหตุจากการเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา
M4: Rational drug use (RDU)
Goals: การใช้ยาอย่างสมเหตุผล เกิดประโยชน์จริงต่อผู้ป่วยด้วยค่าใช้จ่ายต่ำสุด ต่อบุคคลและสังคม
Medication Management ในโรงพยาบาล
การคัดเลือดยาและการจัดหายา
ผู้บริหารหรือ PTC เป็นการจัดหา/จัดซื้อ สร้างบัญชียา วางมาตรการที่เกี่ยวกับการใช้ยาให้ปลอดภัย
การสั่งยาใช้ยา
แพทย์ ประเมินความจำเป็นของการใช้ยา
การให้ยา
พยาบาลจะตรวจสอบบคำสั่ง ประเมินผู้ป่วยให้ยา
การติดตามการใช้ยา
พยาบาล/ ผู้ป่วย/ ญาติ ประเมิน S/E ของยา
การเตรียมยาและการจ่ายยา
เภสัชกร เก็บรักษา ทบทวนและยืนยันคำสั่ง เตรียมยา กระจายถึงผู้ป่วย
หลัก 10R
Right dose (ปริมาณนาที่ถูกต้องและเหมาะสม)
ตรวจสอบ order แพทย์
ยืนยันความเหมาะสมของขนาดยาโดยใช้ BNF หรือแนวทางท้องถิ่น
หากจำเป็นให้คำนวณขนาดยาและให้พยาบาลอีกคนคำนวณขนาดยาด้วย
Right route (เส้นทางที่ถูกต้อง)
ตรวจสอบว่ายาที่ให้ oral / IV / IM / Suppository
ยืนยันว่าผู้ป่วยสามารถรับหรือรับยาตามเส้นทางที่สั่ง
Right patient (ผู้ป่วยที่เหมาะสม)
ตรวจสอบชื่อยาและสายรัดข้อมือ
โดยอุดมคติให้ใช้ตัวระบุ 2 ตัวขึ้นไปและขอให้ผู้ป่วยระบุตนเอง
Right time (เวลาที่เหมาะสม)
ตรวจสอบอีกครั้งว่าให้เวลาที่กำหนดในเวลาที่ถูกต้อง
ยืนยันเมื่อได้รับยาครั้งสุดท้าย
ตรวจสอบความถี่ของการใช้ยาตามที่แพทย์สั่ง
Right Medication / drug (ยาที่ถูกต้อง)
ตรวจสอบชื่อยาที่ควรหลีกเลี่ยงชื่อทางการค้า
ตรวจสอบวันหมดอายุ
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์
โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะได้รับการทบทวนอย่างสม่ำเสมอ
Right patient education (ผู้ป่วยควรมีความรู้เกี่ยวกับยาที่จะได้รับ)
ตรวจสอบว่าผู้ป่วยเข้าใจว่าเป็นยาอะไร
ทำให้พวกเขาตระหนักว่าพวกเขาควรติดต่อผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพหากพวกเขาพบผลข้างเคียงหรือปฏิกิริยา
Right documentation (การบันทึกการให้ยาที่ถูกต้อง)
พยาบาลลงนามในยาหลังจากได้รับยา
การกำหนดยาอย่างถูกต้องพร้อมวันเริ่มต้นและวันสิ้นสุด
Right to refuse (สิทธิ์ในการปฏิเสธ)
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดการยา
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะปฏิเสธการใช้ยา
Right assesment
ตรวจสอบผู้ป่วยของคุณต้องการยาจริงๆ
ตรวจสอบข้อห้ามในการใช้ยาของคนไข้แต่ละคน
การสังเกตเบื้องต้นหากจำเป็นต้องให้ยาหรือไม่
Right evaluation
ตรวจสอบให้แน่ใจว่ายาทำงานตามที่ควรจะเป็น
ตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีการทานยาอย่างสม่ำเสมอ
การสังเกตอย่างต่อเนื่องถ้าจำเป็น