Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่2 แก้ปัญหาความขัดแย้ง - Coggle Diagram
หน่วยที่2 แก้ปัญหาความขัดแย้ง
ความหมายของความขัดแย้ง
ความขัดแย้ง หมายถึงสภาพที่บุคคลทั้งสองฝ่ายมีความคิดเห็นหรือความเชื่อไม่ตรงกัน
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล หมายถึงความขัดแย้งระหว่างบุคคลสองคนขึ้นไป
สาเหตุของความขัดแย้ง
สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างบุคคล
ความขัดแย้งอันเนื่องมาจากความคิดเห็นแตกต่างกัน
ความขัดแย้งจากวิธีคิดขัดแย้งกัน
ความขัดแย้งมาจากการรับรู้แตกต่างกัน
ความขัดแย้งมาจากค่านิยมแตกต่างกัน
สาเหตุความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว
ผู้สูงอายุปรับตัวไม่ทันกับความเจริญเติบโตของวัยรุ่น
ภาพรวมของพ่อแม่สมัยเป็นวัยรุ่นแตกต่างกับวัยรุ่นในปัจจุบัน
ค่านิยม สภาพเศรษฐกิจสังคม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
สภาพความเป็นวัยรุ่นที่รักความอิสระ
ผลของความขัดแย้ง
เกิดคสามสะเทือนอารมณ์
ก่อให้เกิดความกระวนกระวายใจ
เป็นผลเสียต่อระบบการทำงานของร่างกาย
การขัดแย้งในครอบครัว
ผลของความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นกับพ่อแม่
วิธีการจัดการความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นและครอบครัว
พิจารณาถึงปัญหา
การนัดหมายเวลา
อธิบายถึงปัญหาและความต้องการของตนเองให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบ
เปิดโอกาศ
ตรวจสอบความเข้าใจ
ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกันลดและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
การสื่อสารที่สร้างสรรค์
ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษากายหรือการแสดง
องค์ประกอบของการสื่อสารอย่างสันติ ประกอบด้วย
ให้ข้อสังเกตได้ว่าเกิดอะไรขึ้นโดยไม่ตัดสิน
พูดสื่อความรู้สึกทั้งของตัวเราและคนอื่นอย่างตรงไปตรงมา
ค้นหาและบอกความต้องการในส่วนลึกของเราและคนอื่น
หาข้อตกลงร่วมกันหรือขอร้องให้เกิดการแก้ปัญหาที่ปฏิบัติได้จริง
ทักษะการสร้างสัมพันธภาพเพื่อให้เกิความมั่นคง
ทักษะในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อให้เกิดความมั่นคง
การเปิดเผยตนเองและไว้ใจซึ่งกันและกัน
การเล่าหรือบอกความไม่สบายใจของตนเองกับผู้อื่น
ความไว้วางใจ
ทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
ทักษะการฟัง
ความใส่ใจ
การทวนเนื้อความ
การสะท้อนความรู้สึก
สรุป
ความขัดแย้งเกิดจากสภาพที่บุคคลทั้งสองฝ่ายมีความคิดเห็นไม่ตรงกัน ซึ่งเกิดจากการมีค่านิยม ความเชื่อ เจตคติ และเป้าหมายที่ไม่สอดคล้องกัน ความขัดแย้งมีหลายรูปแบบ และสามารถลดแก้ไข้ปัญหาความขัดแย้ง