Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 กระบวนการเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 3 กระบวนการเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอาย
ปัจจัยภายใน
ประสบการณ์ชีวิต
สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
ความเชื่อและวัฒธรรม
ปัจจัยภัยนอก
การศึกษา
เศรษฐานะและการเกษียนการทำงาน
ปัญหาที่พบในผู้สูงอายุ
ปัญหาทางด้านสุขภาพกาย
สุขภาพเสื่อมโทรม
โรคทางกายและโรคทางสมอง
ผู้สูงอายุที่อายุเกิน 65 ปี มีอาการเปลี่ยนแปลงทางสมอง คือ โรคสมองเสื่อม โรคหลงลืม โรคซึมเศร้า
ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ
ผู้สูงอายุมีฐานะะไม่ดี
ไม่มีลูกหลานดูแลอุปการะเลี้ยงดู
ไม่มีรายได้รายได้ไม่เพียงพอสำหรับการเลี้ยงชีพ
ไม่มีที่อยู่อาศัยทำให้ได้รับความลำบาก
ปัญหาด้านความรู้
ผู้สูงอายุไม่มีโอกาสได้รับความรู้เพื่อการพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับวัย
ปัญหาทางด้านสังคม
ไม่ได้รับการยกย่องจากสังคมเหมือนเดิมโดยเฉพาะผู้ที่เคย เป็นข้าราชการตำแหน่งสูง
เยาวชนและหนุ่มสาวหลายคนมีทัศนคติไม่ดีต่อผู้สูงอายุเห็นคนรุ่นเก่าล้าสมัย พูดไม่รู้ เรื่องและไม่มีประโยชน์
ปัญหาทางด้านจิตใจ
ไม่ได้รับความเอาใจใส่และความอบอุ่นจากลูกหลานอย่าง เพียงพอ
กังวลว่าจะถูกลูกหลานและญาติพี่ น้องทอดทิ้ง
มักมีอารมณ์เปลี่ยนแปลง เช่น เศร้า เฉยเมย เอาแต่ใจตนเอง
ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว
ครอบครัวคนไทยเขตเมืองจะเป็น ครอบครัว ลูกหลานจะมาทำงานในเขตเมืองทิ้งพ่อแม่ให้เฝ้าบ้าน
ทำให้ผู้สูงอายุอยู่อย่างโดดเดี่ยว ไม่ได้รับการดูแลและได้รับความอบอุ่นดังเช่นอดีตที่ผ่านมา
ปัญหาค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง
เยาวชนมีความกตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่ ครูอาจารย์น้อยลง ไม่ได้รับการดูแลต้องอาศัยสถานสงเคราะห์คนชรา
ต่างคนต่างอยู่ ไม่มีการเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน ไม่มีการทดแทนบุญคุณ บุตรหลานโตขึ้นก็จะไม่เลี้ยงดูพ่อแม่เมื่อแก่ชรา
การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย (Physiological change)
ระบบผิวหนัง
ยืดหยุ่นของผิวหนังไม่ดี ผิวหนังเหี่ยวและมีรอยย่น
การฟื้นหายของแผลช้าลง
ไขมันใต้ผิวหนังลดลงทำให้ ร่างกายทนต่อความหนาวเย็นได้น้อยลง
ต่อมเหงื่อเสียหน้าที่ไม่สามารถขับเหงื่อได้จึงเกิดอาการลมแดดได้ง่าย
ระบบประสาทและประสาทสัมผัส
ระบบประสาทส่วนกลาง
ขนาดของสมองลดลง น้ำหนักสมองลดลง ประมาณร้อยละ 20 เมื่ออายุ 90 ปี
เซลล์ประสาทลดลง และมีการเสื่อมของเซลล์ประสาทประมาณ 1 แสน เซลล์/วัน
ระบบประสาทส่วนปลาย
ประสิทธิภาพการทำงานของสมองน้อยลง
การเคลื่อนไหวและ ความคิดเชื่องช้า
ความจำเสื่อม
ความกระตือรือร้นน้อยลงความคิดอาจสับสนได้
ระบบประสาทอัตโนมัติ
เวลานอนน้อยลง เวลาตื่นมากขึ้น
การมองเห็นไม่ดี
ผลิตน้ำตาลดลง ทำให้ตา แห้งและเกิดภาวะระคายเคืองต่อเยื่อบุตาได้ง่าย
การได้ยินลดลง
ต่อมรับรสทำหน้าที่ลดลง
เบื่ออาหาร
มีการเสื่อมของกล้ามเนื้อกล่องเสียงและสายเสียงบางลง หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหูชั้นในเกิดภาวะ แข็งตัวมีผลทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะและการเคลื่อนไหวไม่คล่องตัว
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
การเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆไม่คล่องตัว
กระดูกมีน้ำหนักลดลง
กระดูกเปราะและหักง่าย
หลังค่อมมากขึ้น
ความสูงลดลง ประมาณ 3-5นิ้ว
น้ำไขข้อลดลง
ข้อเข่าข้อสะโพกและข้อกระดูกสันหลังเสื่อม
ระบบการไหลเวียนเลือด
ขนาดของหัวใจอาจโตขึ้น ผนังหัวใจห้องล่างซ้ายหนาขึ้น ลิ้นหัวใจแข็งและหนาขึ้นมีแคลเซียมมาเกาะมากขึ้น ทำให้เกิดภาวะลิ้นหัวใจรั่วและตีบได้
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในเวลา 1 นาทีลดลงประมาณ 1% ต่อปี
ภาวะหัวใจวายได้ง่าย
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานลดลง
หลอดเลือดแดงแข็งตัวและความดันโลหิตสูงขึ้น
ปริมาณเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ลดลง
ระบบทางเดินหายใจ
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจลดลง
เยื่อหุ้มปอดแห้งการขยายและการหดตัวของปอดลดลง ทำให้เกิดอาการหายใจ ลำบาก
ผนังถุงลมแตกง่ายจงเกิดโรคถุงลงโป่งพองได้
การแลกเปลี่ยนก๊าซภายในปอดลดลง
ร่างกายได้รับออกซิเจนลดลง
รีเฟล็กซ์การขย้อนและรีเฟล็กซ์การไอลดลง
ระบบทางเดินอาหาร
เกิดภาวะขาดอาหาร
การกระหายน้ำลดลง
การเคลื่อนไหวของหลอดอาหารลดลงและหลอดอาหารกว้างขึ้น
กระเพาะอาหารลดลงลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่เคลื่อนไหวน้อยลงเกิดอาการท้องผูกได้ง่าย
น้ำหนักและขนาดของตับอ่อนลดลงการผลิตเอนไซม์ลดลงทั้งปริมาณ และคุณภาพ
ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์
ปัสสาวะค้างในกระเพาะปัสสาวะเพิ่มขึ้น ทำให้ต้องถ่ายปัสสาวะบ่อยขึ้น
ในผู้ชายตอมลูกหมากโตเปนผลให้
ถ่ายปสสาวะลำบากได้ ลูกอัณฑะเหี่ยวมีขนาดเล็กลงผลิตเชื้ออสุจิไดน้อยลง
ในผู้หญิงรังไขจะฝอเล็กลง ช่องคลอดแคบและสั้นลงรอยย่นและความยืดหยุ่นลดลง สารหล่อลื่นภายในช่องคลอดลดลง ทำให้เกิดอาการ อักเสบและติดเชื้อได้ง่าย
ระบบต่อมไร้ท่อ
ต่อมธัยรอยด์มีพังผืดมาจับสะสม
เกิดภาวะพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมน (Hypothyroidism)
ตับอ่อนมีการหลั่งอินซูลินลดลง
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ (Psychological change)
อารมณ์
กลัวถูกทอดทิ้ง
ขาดความมั่นใจในตนเอง
สูญเสียความคุ้นเคย
ไม่สามารถปรับตัวได้
นิสัย
เฉื่อยชาต่อเหตุการณ์
ไม่เข้าสังคม
เก็บตัวอยู่ในบ้าน
ไม่นึก
สนุกสนาน
คิดว่าตนไม่มีประโยชน
ซึมเศร้า ขี้น้อยใจ
ความทุกข์ใจ
คิดถึงอดีต
คิดถึงปัจจุบัน คิดถึงอนาคต
การเปลี่ยยนแปลงทางสังคม(Sociology change)
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสถานภาพและบทบาททาง
สังคม
ผู้ที่เคยทำงานเมื่ออายุครบ 60 ปี ต้องออกจากงาน
การสูญเสียบทบาทในการเป็นผู้นำครอบครัว
ลูกหลานไปทำงานนอกบ้านไม่มีเวลาเอาใจใส่ทำให้ผู้สูงอายุซึมเศร้า
การเสื่อมความเคารพ
คนส่วนใหญ่มองว่าผู้สูงอายุมีความสมารถน้อยลง
คิดว่าผู้สูงอายุไม่ทันเหตุการณ์