Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาาลเกี่ยวกับการป้องกัน และ ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ, นางสาวเจนจิรา…
การพยาาลเกี่ยวกับการป้องกัน
และ
ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การป้องกัน และควบคุม
โรคติดเชื้อ
Infection diseases
โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล Nosocomial infarction
ติดเชื้อเกิดจากการได้รับเชื้อขณะผู้ป่วยได้รับการตรวจหรือรับการพยาบาล (เกิดขึ้นภายใน 48-72 ชั่วโมง เมื่อรับผู้ป่วยรักษาในโรงพยาบาล)
โรคติดต่อ
Communicable diseases
ติดต่อคน,สัตว์ โรคที่สามารถแพร่กระจายไปได้
การติดเชื้อ
Infection
ความไวของแต่ละบุคคลในการรับการติดเชื้อ
ภาวะโภชนาการ
อ่อนเพลีย
ภูมิแพ้
อายุ
ความเครียด
ความหมายของคำศัพท์
Sterilization
ขบวนการทำลายเชื้อโรคทุกชนิด พวกสปอร์ให้หมดสิ้น
Sterile
เครื่องมือที่ปราศจากเชื้อโรค รวมทั้งสปอร์
Contamination
การสัมผัส ปนเปื้อนเชื้อโรค
Disinfectant
สารเคมีหรือน้ำยาทำลายจุลินทรีย์ แต่ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์ ทำลายเนื้อเยื่อใช้กับผิวหนังไม่ได้
Disinfection
ขบวนการทำลายเชื้อโรคแต่ไม่สามารถทำลายสปอร์ได้ วิธีการ คือ ต้ม การแช่น้ำยา
Antiseptics
สารเคมีที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์
หลักพื้นฐานของภาวะปราศจากเชื้อ
ดูแลให้ปลอดภัยนั้นคงความปลอดเชื้อ
ปากคีบปลอดเชื้อ (Transfer forceps)
ปากคีบปลอดเชื้อควรถือให้สูงกว่าระดับเอวและปลายปากคีบชี้ลงเสมอ หากหงายขึ้นจะทำให้เกิดการปนเปื้อนขณะทำงานได้
การเทน้ำยาปลอดเชื้อ
ถือขวดน้ำยาสูงกว่าภาชนะปลอดเชื้อประมาณ 6 นิ้ว
ปากขวดต้องไม่สัมผัสกับของใช้หรือภาชนะรองรับ ระวังน้ำยากระเด็นทำให้เกิดการปนเปื้อนและน้ำยาต้องไหลจากปากขวดลงภาชนะโดยไม่ไหลเปื้อนข้างขวดก่อนลงภาชนะ
หลีกเลี่ยงการทำน้ำยาหกเปื้อนผ้าห่อของปลอดเชื้อจะทำให้อุปกรณ์ที่อยู่ในผ้าห่อเกิดการปนเปื้อน
หลีกเลี่ยงการพูดคุย ไอจาม หรือข้ามของปลอดเชื้อ เพราะมีโอกาสแพร่กระจายไปตามละอองอากาศ
อุปกรณ์ทางการแพทย์ทุกชนิดที่จะสอด / ใส่ผ่านผิวหนังเข้าไปในร่างกายผู้ป่วยจะต้องปลอดเชื้อ
การเทน้ำยาหรือวางของปลอดเชื้อ ไม่ควรชิดขอบด้านนอกของภาชนะหรือผ้าห่อของปลอดเชื้อ วางห่างจากขอบนอกของภาชนะหรือผ้าห่อของปลอดเชื่อถัดเข้ามาประมาณ 1 นิ้ว
การเปิดห่อผ้าของปลอดเชื้อให้จับมุมบนสุดของผ้าเปิดไปทางด้านตรงกันข้ามกับผู้ทำต่อมาเปิด 2 มุมผ้าด้านข้างซ้าย-ขวาก่อน สุดท้ายจับมุมผ้าด้านในสุดของห่อผ้าเปิดออกโดยไม่ข้ามของปลอดเชื้อ
ของปลอดเชื้อสัมผัสกับสิ่งที่ไม่ปลอดเชื้อ ถือว่าของนั้นไม่ปลอดเชื้อหรือเกิดการปนเปื้อน contamination
ของปลอดเชื้อต้องอยู่สูงกว่าระดับเอวและอยู่ในสายตา
การปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การล้างมือ (Hand washing
เป็นวิธีการที่ดีที่สุด ลดการติดเชื้อจากการสัมผัสโดยตรง ช่วยขจัดสิ่งสกปรกต่างๆ ขุยผิวหนัง เหงื่อ ไขมัน และลดจำนวนเชื้อจุลชีพที่อยู่บนผิวหนังเป็นการป้องกัรการแพร่กระจายเชื้อโรค
•ล้างมือก่อน-หลังการพยาบาลผู้ป่วย
•หลังสัมผัสอุปกรณ์เครื่องใช้ที่สกปรก
•ก่อนจับอาหาร
การล้างมือแบบธรรมดา
ล้างมือโดยใช้สบู่
เวลาในการล้างอย่างน้อย 15 วินาที
และล้างมือด้วยน้ำสะอาด
ซับมือให้แห้ง
การล้างมือเพื่อสุขภาพอนามัยทั่วไป
การล้างมือด้วยแอลกอฮอล์
แอลกอฮอล์เจล ประกอบด้วย alcohol 70 % หรือผสม chlorhexidine 0.5% กำจัดเชื้อโรคแบคทีเรียแกรมบวก
แกรมลบ เชื้อที่ดื้อยา ไวรัส
การล้างมือก่อนทำหัตถการ
เพื่อทำหัตถการ ทำคลอดป้องกันการติดเชื้อ
สบู่ทำลายเชื้อ เช่น chlorhexidine 4%
ใช้แปรงมือและเล็บ ฟอกมือ แขนถึงข้อศอกนานอย่างน้อย 5 นาที
การใส่ถุงมือ (Glove)
ช่วยป้องกันทั้งทางตรงและทางอ้อม
จากตัวเราไปสู่ตัวผู้ป่วย จากผู้ป่วยสู่บุคคลอื่น
จากผู้อื่นไปสู่ผู้ป่วย
ผู้สัมผัสเชื้อเป็นพาหะนำเชื้อไปสู่ผู้อื่น
ถุงมือปลอดเชื้อ
หยิบจับของปลอดเชื้อ
ทำหัตถการต่างๆ การผ่าตัด
ป้องกันการติดเชื้อผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ถุงมือสะอาดหรือใช้ครั้งเดียวทิ้ง
ป้องกันสิ่งสกปรกสัมผัสมือ
สวมใช้ในการเคลื่อนย้ายเครื่องมือที่ผ่านการใช้งาน
หรือระหว่างการพยาบาล
การใช้ผ้าปิดปาก-จมูก (mask)
ช่วยป้องกันการได้รับเชื้อโรคจากผู้ป่วยสู่ทางเดินหายใจ
ป้องกันฝุ่นละลองในอากาศ
การใส่เสื้อกาวน์ (Gown)
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค
การป้องกันการติดเขื้อแบบมาตรฐาน
(Standard precaution)
ระวังการแพร่กระจายเชื้อโรคที่ใช้กับผู้ป่วยทุกคนโดยไม่คำนึงถึงการวินิจฉัย เป็นการลดความเสี่ยงต่อการแพร่เชื้อจากเลือด สารคัดหลั่ง น้ำในร่างกาย
มีสุขาและอนามัยที่ดี
สวมเครื่องมือป้องกัน
หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ
การปฏิบัติที่ปลอดภัยจากการใช้ของมีคม
ไม่ส่งของมีคมมือต่อมือ
เข็มที่เจาะเลือดเก็บทิ้งคนเดียว
เย็บแผลใช้ forceps หยั่งแผลเวลาเย็บ
ปลดหลอดแก้วออกจากสายยาง ใช้ forceps ปลด
สวมปลอกเข็มด้วยมือเดียว
ภาวะปลอดเชื้อและเทคนิคปลอดเชื้อ
ภาวะปลอดเชื้อหรือการกีดกั้นเชื้อ (Asepsis) คือการปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ วางกลยุทธ์ในการควบคุมการติดเชื้อ ลดแหล่งของเชื้อโรคและการแพร่กระจายเชื้อ
เทคนิคปลอดเชื้อ (Aseptic technique)
การกีดกั้นเชื้อชนิดไม่เคร่งครัด (Medical asepsis)
เทคนิคการทำให้สะอาด
(Clean technique) การล้างมือ
การแยกผู้ป่วยโรคติดต่อแยกด้วยวิธีเฉพาะ
(Isolation technique)
การกีดกั้นเชื้อชนิดเคร่งครัด (Surgical asepsis)
เทคนิคการทำให้สะอาด ใส่ถุงมือ เสื้อคลุม ที่นึ่งแล้ว
ใช้ปากคีบที่ไร้เชื้อหยิบเครื่องใช้ที่ปราศจากเชื้อ
เทคนิคปราศจากเชื้อ (Sterile technique)
เครื่องมือเครื่องใช้ปราศจากเชื้อ (sterile)
การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้
การล้าง (Cleansing)
เป็นขั้นตอนแรกที่สำคัญที่สุด การล้างที่ถูกต้องสามารถ
ขจัดจุลชีพออกจากวัสดุเกือบทั้งหมด
วัตถุประสงค์ของการล้างเครื่องมือ
ลดจำนวนเชื้อโรคบนเครื่อวงมือให้เหลือให้เหลือปริมาณน้อยที่สุด
ลดสิ่งปนเปื้อนที่ติดอยู่บนผิวของเครื่องมือ
ความสกปรกที่ติดแน่น การทำความสะอาดก่อน
จะช่วยให้คราบสกปรกไม่เกาะติดแน่น
ช่วยลดอันตรายเพิ่มความปลอดภัย
ข้อควรคำนึง
กำจัดเลือด หนอง เมือก สารคัดหลั่งต่างๆ
ออกก่อนทำความสะอาดเสมอ
ไม่ทำให้อุปกรณ์ ชำรุดเสียหายจากวิธีการทำความสะอาด
ไม่ทำความสะอาดให้เครื่องมือสกปรกกว่าเดิม ต้องล้างในน้ำไหลผ่าน
ล้างสารสบู่ให้หมด ไม่ควรมีสารตกค้างหลงเหลืออยู่
เครื่องใช้
อุปกรณ์ในการขัด เป็นวัสดุหยาบไม่มีความคม
สารซักฟอก หรือสบู่
อุปกรณ์สวมใส่ป้องกันความสกปรกกระเด็นถูกร่างกาย เช่น ถุงยาง เอี๊ยมพลาสติก ผ้าปากจมูก แว่นตา
การต้ม (Boiling)
การต้มทำลายเชื้อทำลายดี มีประสิทธิภาพต้องต้มนาน 10 นาที (จุดเดือด 100 องศาเซลเซียส) ทำลายเชื้อได้ยกเว้นสปอร์
ถ้าให้มั่นใจได้ต้องต้มนาน 20 นาทีขึ้นไป
หลักสำคัญ
• น้ำต้องท่วมของอย่างน้อย 1 นิ้ว
• เครื่องมือที่น้ำหนักเบา ควรมีของที่น้ำหนักทับเพื่อให้จบใต้น้ำ
• ปิดฝาหมอต้ม เริ่มนับเวลาเมื่อน้ำเดือด
• เมื่อครบเวลาเก็บของที่ต้มแล้วลงในภาชนะปราศจากเชื้อสะอาดมีฝาปิดมิดชิด
การเตรียมสิ่งของที่จะต้ม
• สิ่งของที่จะต้มต้องทำความสะอาดแล้ว
• แยกชนิดสิ่งของที่จะต้ม
ของมีคมไม่ควรต้ม เพราะจะเสียความคม
ไม่ต้มของใช้กับอวัยวะสะอาดและสกปรกรวมกัน
การใช้สารเคมี (Chemical method)
แอลกอฮอล์ (Alcohols)
• ทำลายเชื้อได้ดีแต่
ไม่ทำลายสปอร์
• อาจทำให้เครื่องมือโลหะเกิดสนิม
อัลดีฮยด์ (Aldehydes)
•ทำลายเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส รา ใน 10 นาที
• ทำลายสปอร์แบคทีเรียใน 10 ชั่วโมง
ไดกัวไนด์ (Diguanide)
• สารที่ใช้คือ chlorhexidine ความเข้มข้นต่ำกว่า 0.2% ไม่สามารถทำลายแบคทีเรียแกรมบวก
เชื้อไวรัส เชื้อราและสปอร์ของแบคทีเรียได้
ฮาโลเจน (Halogens)
• สามารถทำลายเชื้อโรคได้ต่างกันตามความเข้มข้นของน้ำยา Hypochlorite และ lodine
ไม่สามารถทำลายสปอร์แบคทีเรียได้
ฮัยโดเจนเปอร์ออกไซด์
(Hydrogen peroxide)
• ทำลายเชื้อโรค ไวรัสโดยใช้ Hydrogen
peroxide 6% นาน 30 นาที
น้ำยาที่ฟีนอล (Phenols)
• ทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อวัณโรคเชื้อรา
ยกเว้นเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและสปอร์
• ไม่ใช้กับทารก บริเวณที่เตรียมอาหาร
Quartemary Ammonium Compounds
(QACs)
• ฤทธิ์ทำลายเชื้อน้อย เช่น Benzalkonium chloride
ส่วนประกอบของ savlon
การทำให้ปราศจากเชื้อ
วิธีทางกายภาพ
Radiation
ใช้แสงอัลตราไวโอเลตแสงสีม่วง
ฆ่าเชื้อและไวรัสบางชนิด
ใช้เวลาการทำลายประมาณ 6-8 ชั่วโมง
Dry heat or hot air sterilization
ใช้ Hot air oven ทำลายเชื้อโดยความร้อนที่อุณหภูมิ 165-170 องศาเซลเซียส เวลา 3 ชั่วโมง
• เหมาะกับเครื่องมือของมีคม เครื่องแก้ว
ไม่เหมาะใช้กับผ้าและยาง
Steam under pressure
เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ฆ่าเชื้อและสปอร์
ทนความร้อนความชื้น ผิวเรียบแข็ง
อุณหภูมิ 121-123 องศาเซลเซียส ใต้ความดัน 15-17 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
ใช้เวลานาน 15-45 นาที
วิธีทางเคมี
การใช้ก๊าซ Ethylene oxide
คุณสมบัติทำลายเชื้อสูง ทำลายเชื้อโรคได้ทั้งหมด
นิยมใช้กับเครื่องมือที่ไม่สามารถทนความร้อนความชื้นได้
อบก๊าซไว้ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส นาน 3 ชั่วโมงและต้องเก็บในอุณหภูมิเพื่อให้ก๊าซระเหยออกก่อน
การใช้ 2% Glutaradehyde
เช่น Cidex ทำให้ปราศจากเชื้อในการทำลายเชื้อและสปอร์ของแบคทีเรีย เป็นสารที่ไม่ทำลายยางหรือพลาสติก
การใช้ Peracetic acid
มีคุณสมบัติในการกัดกร่อนสูง
แต่ต้องละลายน้ำอุ่น
การหยิบจับของปราศจากเชื้อ
วิธีการใช้ปากคีบหยิบของที่ปราศจากเชื้อ
หยิบปากคีบออกจากกระบอก หยิบส่วนปลาย ไม่ให้ปลายปากคีบถูกกับปากภาชนะ
ขณะที่ถือให้ปลายปากคีบอยู่ต่ำ
ระวังไม่ให้ปากปลายคีบถูกกับภาชนะที่ไม่ปราศจากเชื้อ
เมื่อใช้เสร็จให้จับตรวกลางด้ามให้ชิดกัน แล้วใส่กระปุกตรงๆ
วิธีการหยิบของในหม้อนึ่งในอับหรือแบ่งของ
เมื่อเปิดฝา ถ้าจะวางให้หงายฝาขึ้น ถ้าถือให้ใช้นิ้วเกี่ยวถือไว้คว่ำฝาลง
ห้ามเอื้อมข้ามของ sterile ที่เปิดฝาไว้ ห้ามจับด้านในฝา
ไม่ควรนำของที่หยิบออกมาแล้ว แม้ว่าจะยังไม่ได้ใช้เก็บเข้าไปอีก
วิธีห่อของส่งนึ่ง
คลี่ผ้าห่อของบนโต๊ะ สูงระดับเอว
วางของไว้ที่ศูนย์กลางของผ้าห่อ
จับมุมด้านผู้ห่อ วางผาดบนของ พับมุมกลับเล็กน้อย
ดึงผ้าให้เรียบตึง
ห่อด้านขวาให้มิดของ ดึงให้ตึงพับมุม
จับผ้าที่เหลือมุมสุดท้าย ดึงให้ตึงพับมุมเข้าเล็กน้อยจัดห่อให้มิดชิดไม่หลุด
ตรึงห่อของให้แน่นด้วยเทปกาว ระบุหอผู้ป่วย ชื่อสิ่งของ วันที่ส่งนึ่งและชื่อผู้ชื่อห่อของ
ติด Autoclave tape
การเปิดห่อของที่ปราศจากเชื้อ
จุดประสงค์
เพื่อคงความปลอดเชื้อของสิ่งของภายในห่อ
เครื่องใช้
ห่อของที่ปลอดเชื้อ
วงจรของขบวนการติดเชื้อ
เข้ามาได้ทาง
ปาก
ผ่าตัดแผล
ตา
ติดต่อ
เด็ก
คนภูมิคุ้มกันต่ำ
คนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
อยู่ได้รอบตัว
contact : มือ ของเล่น
ละอองฝอย : พูด ไอ จาม
ออกไปได้ยังไง
ปาก : น้ำลาย , อาเจียน
เลือด ผิวหนัง
ปัสสาวะ + อุจจาระ
ที่อยู่ของเชื้อโรค
ของเล่น
ฟองน้ำ
ผ้าม่าน
แอร์
น้ำ
เชื้อโรค
แบคทีเรีย
ไวรัส
ปรสิต
สิ่งนำเชื้อ
จำเป็นต้องมีพาหะ
อากาศ , อาหาร , น้ำ , การสัมผัส , แมลง , สัตว์ , คนที่มีเชื้อ
วิธีแพร่กระจายเชื้อ
Vectorborne transmission
แพร่เชื้อโดยแมลง หรือสัตว์นำโรค
Common Vehicle transmission
แพร่เชื้อจากการที่มีเชื้อจุลชีพปนเปื้อนอยู่ในเลือด
Air bone transmission
แพร่เชื้อโดยการสูดหายใจเอาเชื้อเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
Contact transmission
Direct contact แพร่กระจายเชื้อจากคนสู่คน
Indirect contactact การสัมผัสสิ่ง อุปกรณ์การแพทย์มีเชื้อปนเปื้อนเข้าสู่ร่างกาย ผ่านตัวกลาง
Droplet spread สัมผัสกับฝอย ละออง น้ำมูก น้ำลาย
เทคนิคการแยก (Isolation Technique)
คือ วิธีการแยกผู้ป่วยเพื่อกำจัดการแพร่กระจายของเชื้อโรคจากผู้ป่วยสู่บุคคลอื่น
โรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ
โรคติดต่อทางระบบทางเดินอาหาร
โรคติดต่อทางบาดแผล ผิวหนัง
โรคติดต่อร้างแรง ติดต่อง่าย
โรคติดต่อทางเลือด น้ำเหลือง
ส่งสัยว่าเป็นโรคติดต่อ
เสี่ยงต่ิการติดเชื้อสูง
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
Droplet Precations
ติดเชื้อที่แพร่กระจายได้ทางละอองในอากศ
แยกผู้ป่วยในห้องแยก
ใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
สวมทุกมือชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้ง
ล้างมือก่อนและหลัง
แบบ hygiene handwashing
ผู้ป่วยใช้ผ้า กระดาษปิดปากจมูก เวลาไอ-จาม
และใส่ผ้าปิดปาก-จมูก
เมื่อมีความจำเป็นในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้อง ให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิดธรรมดา
Contact Precautions
ติดเชื้อที่แพร่กระจายจากการสัมผัส
แยกผู้ป่วยในห้องแยก
สวมถุงมือเมื่อสัมผัสกับผู้ป่วย
ล้างมือก่อนและหลัง
แบบ hygiene handwashing
Airborne Precations
ติดเชื้อที่แพร่กระจายได้ทางอากาศ
แยกผู้ป่วยในห้องแยก
ใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
สวมทุกมือชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้ง
ล้างมือก่อนและหลัง
แบบ hygiene handwashing
ผู้ป่วยใช้ผ้า กระดาษปิดปากจมูก
เวลาไอ-จาม
และใส่ผ้าปิดปาก-จมูก
เมื่อมีความจำเป็นในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้อง ให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิดธรรมดา
นางสาวเจนจิรา สาระ เลขที่ 8 รหัส 63123301021 ห้อง 2A