Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
การตกขาวผิดปกติ
3.การตกขาวจากเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial vaginosis)
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลต่อมารดา
2.อาจทำให้เกิดการแท้งแติดเชื้อ ถุงน้ำคร่ำแตก คลอดก่อนกำหนด
3.มารดาหลังคลอดอาจมีไข้ ปวดท้องมากและมีอาการแสดงของเยื่อบุมดลูกอักเสบ
1.ถ้าไม่ได้รักษา จะติดเชื้อราได้ง่าย เข้าสู่โพรงมดลูก ท่อนำไข่ ทำให้มีการติดเชื้อในมดลูก อุ้งเชิงกราน และเกิดการอักเสบในอุ้งเชิงกราน
ผลต่อทารก
ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย คลอดก่อนกำหนด พลเชื้อแบคทีเรียในหลอดลมทำให้มีภาวะหายใจลำบาก มีแบคทีเรียในเลือด รักษาด้วยยาปฎิชีวนะ
การพยาบาล
ระยะคลอด
สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ปกติ
ระยะหลังคลอด
2.เน้นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุให้สะอาดและแห้งเสมอ
3.หากมีอาการผิดปกติให้รีบไปพลแพทย์
1.สามารถเลี้ยงด้วยนมมารดาได้
ระยะตั้งครรภ์
2.แนะนำพาสามีมาตรวจและรักษาโรคพร้อมกัน
3.แนะนำการใช้ถุงยางอนามัย หากมีความผิดปกติ เช่น ปวดท้อง ท้องแข็ง มีเลือดออก ให้รีบมาพบแพทย์ทันที
1.รับประทานยาตามแผนการรักษา รักษาความสะอาดของอวัยวะสืบพันธ์ุ
อาการและอาการแสดง
ปวดแสบปวดร้อนในช่องคลอด
จะมี lactobacillus เป็นแบคทีเรียดีช่วยปกป้องเชื้อรา แบคทีเรียที่ทำให้ช่องคลอดอักเสบมากที่สุด gardnerella vaginalis ติดต่ดจากการมีเพศสัมพันธ์ุ แต่หากไม่เคยพบได้จากสบู่ หรือเจลอาบน้ำที่มีสารระคายเคือง การสวนล้างช่องคลอดบ่อยๆ
1.การตกขาวจากการติดเชื้อรา (Vulvovaginal candidiasis)
อาการและอาการแสดง
มีอาการระคายเคืองช่องคลอดและปากมดลูก เป็นผื่นแดง อักเสบ ตกขาวสีขาวขุ่น ตกตะกอน (curd-like discharge) จะติดแน่นกับผนังช่องคลอด ไม่มีกลิ่น หรือกลิ่นอับ
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์
การติดเชื้อราในช่องคลอดทั้งแบบไม่มีอาการและมีอาการ
ไม่มีผลเสียต่อการตั้งครรภ์
ระคายเคือง คันช่องคลอดมากขึ้น
ผลต่อทารก
ติดเชื้อราในช่องปาก (oral thrush)
ปัจจัยและปัจจัยเสี่ยง
6.การรับประทานอาหารที่มีแป้งและน้ำตาลมาก
7.การสวมชุดชั้นในแน่นเกินไป
5.การควบคุมเบาหวานไม่ดี มัระดับน้ำตาลในเลือดสูง
8.การใช้น้ำยาทำความสะอาดช่องคลอด
4.ภูมิต้านทานของร่างกายถูกกดจากการเป็นโรคเอดส์
9.การไม่เปลี่ยนผ้าอนามัยระหว่างวัน
10.ความเครียดการผักผ่อนไม่เพียงพออภูมิต้านทานร่างกายต่ำ
11.ตั้งครรภ์เพราะระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนสูงขึ้น
12.ขบวนการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ภาวะความเป็นกรด-ด่าง ในช่องคลอดเปลี่ยนแปลงไป
3.การรับประทานยาคุมกำเนิดชนิดที่มีปริมาณมาก
2.การได้รับฮอร์โมนสเตียรอยด์
1.กินยาปฏิชีวนะอย่างต่อเนื่อง
การประเมินและการวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย ช่องคลอดบวมแดง ตกขาวขุ่นรวมเป้นก้อนเหมือนนมตกตะกอน
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ pH น้อยกว่า 4.5 ตรวจด้วยวิธีแกรมสเตน พบเป็นเหมือนเส้นด้าย และเหมือนยีสต์
1.การซักประวัติ ระยะเวลาที่แสดงอาการ ประวัติการตกขาวและการรักษา
เกิดจากฮอร์โมนที่เปลี่ยนขณะตั้งครรภ์ ทำให้เนื้อเยื่อผิวหนังอ่อนนุ่มลง บอบบางมากขึ้น ติดเชื้อราจากกลุ่ม candida albicans หรือเป็นเชื้อที่พบตามร่างกาย ช่องปาก ทางเดินอาหาร และอวัยวะสืบพันธุ์ ทำให้ช่องคลอดอักเสบ
การพยาบาล
ระยะคลอด
สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ปกติ
ระยะหลังคลอด
3.สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้ ต้องล้างมือทุกครั้ง
4.ทารกอาจติดเชื้อที่ช่องปาก จะพบฝ้าขาวในช่องปาก
เน้นการดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธ์ุให้สะอาดและแห้งเสมอ
1.ฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเทอโรนลดลง การติดเชื้อราก็ลดลง
ระยะตั้งครรภ์
2.แนะนำการใช้ยาทา และยาเหน็บ
3.เน้นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ชุดชั้นในซักและตากแดดให้แห้ง
1.อธิบายให้เข้าในเกี่ยวกับการดำเนินของโรค
2.การตกขาวจากการติดเชื้อพยาธิ (Vaginal trichomoniasis)
อาการและอาการแสดง
2.ตกขาวมีสีขาวปนเทา หรือสีเหลืองเขียว ตกขาวเป็นฟอง(foamy discharge) มีกลิ่นเหม็น
3.ระคายเคืองที่ปากข่องคลอด ปากมดลูกบวมแดง ปัสสาวะแสบขัด เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์ุ มีจุดเลือดออกเป็นหย่อมๆ strawberry spot
1.มักพบจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ เช่น หนองใน ปากมดลูกอักเสบแบบมูกปนหนอง หูดหงอนไก่ เชื่อราในช่องคลอด
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด
ผลต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด แรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย
ติดเชื้อ trichomonas vaginalis ไม่ต้องการออกซิเจน รูปร่างกลมป้อม เจริญได้ดีที่เป้นด่าง pH5.8-7 จะทำให้เกิดการอักเสบเยื่อบุช่องคลอด ติดต่อได้จากการมีเพศสัมพันธ์ุหรือการติดเชื้อโดยตรง
การพยาบาล
ระยะคลอด
คลอดตามช่องคลอดได้ปกติ
ระยะหลังคลอด
เลี้ยงบุตรด้วยนมได้ งดการมีเพศสัมพันธุ์ และรักษาให้หาย แนะนำการมีเพศสัมพันธ์ุอย่างปลอดภัย
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการเหน็บยา นำสามรมารักษาหากเป็นซ้ำๆ สวมถุงยางเมื่อมีเพศสัมพันธ์ุ ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุภายนอก
การติดเชื้อเริม (Herpes simplex)
ผลต่อมารดารและทารก
ผลต่อมารดา
เสี่ยงต่อการแท้ง ติดเชื้อซ้ำ
ผลต่อทารก
เติบโตช้า คลอดก่อนกำหนด พิการแต่กำเนิด เสียชีวิต
การประเมินและวินิจฉัย
2.ตรวจร่างกาย
พบตุ่มใส แดงบวม ปวดแสบปวดร้อน ขอบแข็ง กดไม่เจ็บน้ำเหลืองที่ขาหนีบโต
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพาะเชื้อใน Hank's medium การขูดเนื้อเยื่อย้อมและดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ทำให้ตุ่มแตกแล้วขูดมาป้ายย้อมด้วยสี
1.ซักประวัต
เคยติดมาก่อน เคยมีเพสสัมพันธ์ุกับคนที่ติด อาการแสดง
อาการและอาการแสดง
เกิดการติดซ้ำเมื่อภูมิต่ำ แต่อาการจะไม่รุนแรง
มีอาการปวดแสบปวดร้อน คันและจะกลายเป็นตุ่มน้ำใส
หนองใน (Gonorrhea)
ประเมินและวินิจฉัย
2.ตรวจร่างกาย
พบสีขาวขุ่น เลือดปนหนอง ขาหนีบบวม กดเจ็บที่บาร์โธลิน
3.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ติดเชื้อพบ intracellular gram negative diplocooci
1.ซักประวัติ
การมีเพศสัมพันธุ์กับผู้ที่เป็น เคยเป็นหรือตรวจพบ
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดาร
มีบุตรยาก ถุงน้ำคร่ำแตก แท้งบุตร เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ผลต่อทารก
เกิดตาอักเสบ gonococcal ophalmia neonatorum ทำให้ตาบอดได้
การรักษา ให้ยาปฏิชีวนะ ceftriaxone
อาการและอาการแสดง
เป็นหนองข้นปริมาณมาก เจ็บที่ต่อมบาร์โธลิน ติดเชื้อทางเดิบปัสสาวะส่วนล่าง
ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย กระปิดกระปรอย เป็นเลือด
ซิฟิลิส (Syphilis)
1.ซิฟิลิสระยะแรก หรือระยะที่หนึ่ง (primary stage)
เกิดแผลกลม นิ่ม ขอบนูนแข็ง ไม่เจ็บ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณขาหนีบโตแต่กดไม่เจ็บ
2.ซิฟิลิสระยะที่สอง (secondary stage)
แผลหายจะพบผื่นกระจายทั่วร่างกาย ฝ่ามือฝ่าเท้า ดดยผื่นที่พบบริเวณอวัยวะสบพันธ์ุจะยกนูนร่วมกับมีอาการไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต เจ็บคอ
3.ระยะแฝง (latent syphilis)
ระยะนี้ไม่มีอาการใดๆ แต่กระบวนการติดเชื้อยังดำเนินอยู่ และพัฒนาเป็นซิฟิลิสระยะที่ 3
4.ซิฟิลิสระยะที่3 หรือระยะท้ายของโรคซิฟิลิส (tertiary syphilis)
เข้าไปทำลายระบบหัวใจและหลอดเลือด เข้าสู่ระบบประสาทจะเกิดผิวหนังอักเสบ กระดูดผุ จะพบ Argyll Robertson Pupil
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์
ทำให้ผิวหนังและเนื้อเยื่ออักเสบ คลอดก่อนกำหนด และแท้งบุตร
ผลต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด ตายคลอด ทารกแรกเกิดติดเชื้อซิฟิลิส
การประเมินและวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย
พบไข้ต่ำๆ แผลขอบแข็ง กดไม่เจ็บ ผื่นที่ฝ่ามือฝ่าเท้า อ่อนเพลีย
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2.หากไม่มีแผลหรือผื่น การตรวจหา antibody ที่ไม่จำเพาะต่อเชื้อ และ เพื่อยืนยันการติดเชื้อซิฟิลิส
3.การคัดกรองด้วยวิธี VDRL ตรวจ treponema test ด้วย TPHA or TPPA
1.ระยะที่เป็นแผล หากพบเชื้อ T.Pallidum ถือว่าเป็น definition diagnosis
1.การซักประวัติ
ประวัติการมีเพศสัมพันธุ์ เคยป่วย ตรวจพบผลบวก
หูดหงอนไก่ (Condyloma acuminate)
ผลต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดา
ขัดขวางช่องทางคลอด เกิดการตกเลือดหลังคลอด เกิดมะเร็งปากมดลูกได้
ผลต่อทารก
เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน เสียงร้องไห้แหบผิดปกติ
การประเมินวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย
พบติ่งเนื้อสีชมพูคล้ายหงอนไก่ ผิวขรุขระคล้ายดอกกะหล่ำ
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แยกโรค ซิฟิลิสและ genital cancer ตรวจ Pap smear ตรวจหาเชื้อ HPV โดย Polymerase Chain Reaction หรือตรวจ DNA
1.การซักประวัติ
เคยเป็นมาก่อน เคยมีเพศสัมพันธ์ุกับคนที่เป็น
ติ่งเนื้อสีชมพูคล้ายหงอนไก่ เกิดในที่อับชื้น
การพยาบาล ซิฟิลิส หนองใน เริม และหูดหงอนไก่
ระยะคลอด
2.หลีกเลี่ยงการทำหัตถการทางช่องคลอด
3.ดูแลให้ผู้คลอดและทารกได้รับยาตามแผนการรักษาเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
1.คลอดโดยยึดหลัก universal precaution เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
4.หากไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ เตรีมคลอดให้พร้อม ผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้องทั้งร่างกาย จิตใจ และกฎหมาย
ระยะหลังคลอด
3.ประเมินอาการติดเชื้อของทารกแรกเกิด ได้แก่ มีไข้ อ่อนเพลีย ดูดนมไม่ดี ตัวเหลือง
4.แนะนำการเลี้ยงดูบุตร โดยล้ามมือก่อนทุกครั้ง
2.แนะนำให้ดูแลความสะอาดร่างกาย เครื่องใช้ส่วนตัว
5.ดูแลให้มารดาหลังคลอดและทารกได้รับยาป้องกันการติดเชื้อตามแผนการรักษา
1.ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก universal precaution
6.แนะนำและดูแลมารดาหลังคลอดปกติ หรือหลังผ่าตัดคลอก เน้นให้มาตรวจตามนัดหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
3.อธิบายให้เข้าใจถึงการดำเนินของโรค
4.แนะนำการปฏิบัติตัวของสามีและมารดา รับประทานการ ฉีดยา หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ใช้ถุงยางทุกครั้ง หลีกเลี่ยงการสัมผัสแผล มาตามนัด
2.แนะนำให้สามีมาตรวจเพื่อวินิจฉัยโรค หากติดเชื้อให้รักษาพร้อมกัน
5.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.คัดกรองและประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ให้ละเอียด
การติดเชื้อเอชไอวีในสตรีตั้งครรภ์ (Human Immunodeficiency Virus (HIV) during pregnancy)
การแพร่เชื้อจากมารดาสู่ทารก
2.การติดเชื้อ HIV ระหว่างคลอด ทารกติดขนาดคลอด เพราะสัมผัสกับเลือดของมารดา น้ำคร่ำ และสารคัดหลั่ง
3.การติดเชื้อ HIV ระยะหลังคลอด สัมผัสสารคัดหลั่งของมารดา แต่ส่วนใหญ่ติดเชื้อจากน้ำนมมารดา
1.การติดเชื้อ HIV ระหว่างตั้งครรภ์ ผ่านทารก เข้าสู่เลือดทารก ทำให้ทารกติดไปด้วย
อาการและอาการแสดง
2.ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ ร่างกายแข็งแรงปกติ แต่ตรวจเลือดพบเชื้อ HIV และ antibody แพร่เชื้อให้คนอื่นได้ ไม่มีอาการอาจนานมากกว่า 15 ปี
3.ระยะติดเชื้อที่มีอาการ ได้แก่ มีอุณหภูมิร่างกายสูงมากกว่า 37.8 องศา ท้องเดินเรื้อรัง อุจจาระร่วง น้ำหนักลด ต่อใน้ำเหลืองโตมากกว่า 1 ตำแหน่ง เป็นงูสวัด และพบเชื้อราหรือฝ้าเขาในปาก
1.ระยะเริ่มแรกของการติดเชื้อ HIV ร่างกายเริ่มสร้าง antibody จากนั้วมีไข้ เจ็บคอ ปวดเมื่อย มีผื่นขึ้น ต่อมน้ำเหลืองโต
4.ระยะป่วยเป็นเอดส์ มีไข้ ผอม ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่ง ซีด ลิ้นช่องปากเป็นฝ้าขาวจากเชื้อรา แผลเริมเรื้อรัง ผิวหนังพุพอง ภูมิต่ำ เชื้อโรคฉวยโอกาสเข้ามาในร่างกาย ทำให้เกิดวัณโรค
ผลต่ามารดาและทารก
ผลต่อมารดา
ติด HIV ปริมาณ CD4 ต่ำ มีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนจากการติดเชื้อฉวยโอกาส
ผลต่อทารก
มีโอกาสที่ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย ทารกทีขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์
การพยาบาล
ระยะคลอด
4.ทำคลอดด้วยวิธีที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บต่อผู้คลอดและทารกน้อยที่สุด
5.ดูแลให้ผู้คลอดและทารกได้รับยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
3.หากปริมาณ viral load น้อยกว่า 50 copies/mL จะพิจารณาเจาะถุงน้ำคร่ำเพื่อชักนำการคลอด
6.เตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการช่วยเหลือทารกแรกเหิด
2.ประเมินสัญญาณชีพ และเสียงหัวใจทารก ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
7.ประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
1.ดูแลผู้คลอดโดยยึดหลัก universal precaution
ระยะหลังคลอด
2.ให้คำแนะนำแก่มารดาหลังคลอด เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ดังนี้
2.3แนะนำวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไปสู่คนอื่น
2.4 อธิบายให้มารดาหลังคลอดเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองและการมาตรวจตามนัด
2.2แนะนำให้ใส่เสื้อชั้นในที่คับเพื่อยับยั้งการสร้างและหลั่งน้ำนม
2.5 แนะนำการวางแผนครอบครัว โดยใช้วิธีการคุมกำเนิดอย่างถูกวิธี
2.1หลีกเลี่ยงเลี้ยงบุตรด้วยน้ำนมมารดา
2.6อธิบายให้มารดาหลังคลอดเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการนำทารกมาตรวจเลือด
1.ดูแลมารดาหลังคลอดโดยยึดหลัก universal precaution
ระยะตั้งครรภ์
3.แนะนำให้มาฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง เพื่อประเมินสุขภาพของสตรีครรภ์ และทารกในครรภ์
4.ให้ความรู้แก่สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรค
2.ให้ข้อมูลแก่สตรีตั้งครรภ์ และสามีเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
5.ติดตามผลตามห้องปฏิบัติการ
1.คัดกรองสตรีตั้งครรภ์และสามีที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
6.ประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาต้านไวรัส
7.แนะนำให้ปฏิบัติตัว ดังนี้ รับประทานยาตามแผนการรักษา รักาาความสะอาดของร่างกาย หลีกเลี่ยงการคุกคลีกับบุคคลที่ติดเชื้อ หลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้ร่างกายอ่อนแอ
8.ประเมินระดับความวิตกกังวล
ให้การพยาบาลด้วยท่าทีที่ไม่ลังเกียจ