Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพของความเจ็บปวด การอักเสบ การบาดเจ็บ และภาวะไข้ - Coggle…
พยาธิสรีรภาพของความเจ็บปวด การอักเสบ
การบาดเจ็บ และภาวะไข้
ความเจ็บปวด
Perception
กระบวนการรับรู้ความเจ็บปวดเมื่อประสาทผ่านจาก thalamus เข้าสู่ cerebral cortex จะแปลความปวดเป็นระดับความรุนแรง ทำให้ทราบถึงตำแหน่งที่เกิดความปวด
Modulation
1 more item...
กระบวนการปรับกระแสประสาทให้บรรเทาความปวดลง โดยผ่านกลุ่มเส้นประสาทขาลง จะปล่อยสารมีฤทธิ์ยับยั้งความปวด ได้แก่ beta-endorphinsและenkephalins ไปยับยั้งสารP ทำให้ไม่รู็สึกเจ็บปวด
Transmission
ขบวนการส่งกระแสประสาทความรู้สึก เมื่อมีการกระตุ้นความปวดผ่านปลายประสาทรับความรุ้สึก จะเกิดกระบวนการส่งกระแสประสาทเข้าสู่ไขสันหลังและระบบประสาทส่วนกลาง ผ่านเส้นประสาทรับความรู้สึกส่วนปลาย ไขสันหลังส่วนหลังกลุมเส้นประสาทนำความรู้สึกเจ็บปวดขาขึ้น
1 more item...
Pain assessment ทำได้3วิธี
1.การประเมินความปวด โดยคำบอกเล่าของผู้ป่วย
2.การประเมินความปวดโดยใช้การสังเกตพฤติกรรม
3.การประเมินทางด้านสรีรวิทยา
Transduction
2 more items...
การปวด
ปัจจัยของการเจ็บปวด
4.การรับรู้ความเจ็บปวด
3.เส้นใยประสาท
5.การตอบสนองต่อความเจ็บปวด
2.ตัวรับความเจ็บปวด
1.สิ่งกระตุ้นให้เกิดความเจ็บปวด
สาเหตุของควาดเจ็บปวด
5.อาการปวดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ เช่น.
1 more item...
3.การขาดเลือดหรือออกซิเจน เช่น
ภาวะหัวใจขาดเลือด
6.การขยายตัวของอวัยวะ เช่น
3 more items...
2.การอักเสบหรือการติดเชื้อ เช่น
การเกิดฝีหนอง
โรคข้ออักเสบ
ไส้ติ่งอักเสบ
7.ความกดดันทางอารมณ์ เช่น
2 more items...
1.การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ พบบ่อยที่สุด ได้แก่
อุบัติเหตุ
การกระทบกระแทก
4.ระบบประสาทถูกทำลาย เช่น
เนื้องออกในสมอง
การติดเชื้อ
ความหมายของความเจ็บปวด
สมาคมนานาชาติเพื่อการศึกษาความเจ็บปวด กล่าวไว้ว่าความเจ็บปวดเป็นประสบการณ์ที่ไม่สุขสบายทั้งด้านความรู้สึกและอารมร์ซึ่งเกิดร่วมกับการทำลายเน้อเยื่อหรือเนื้อเยื่อมีโอกาสถูกทำลาย และถูกเปรียบความรู้สึกอารมณ์เหมือนบาดเจ็บ
ชนิดของความเจ็บปวด
4.จำแนกตามลักษณะ
(characteristic)
3.อาการปวดศีรษะ(headache)
1 more item...
2.อาการปวดเฉียบ(colicky pain)
5.อาการหลอนภายหลังถูกตัดแขนขา(phantom limb pain)
1.อาการปวดร้าว(referred pain)
3.จำแนกตามความเร็ว
(velocity)
2.อาการปวดที่ไม่ได้เกิดทันที(slow pain)
1.อาการปวดที่เกิดอย่างรวดเร็ว(fast pain)
2.จำแนกตามระยะเวลา (acute pain)
1.อาการปวดเฉียบพลัน(acute pain)
2.อาการปวดเรื้อรัง(chronic pain)
1 more item...
1.จำแนกตามตำแหน่ง(location)
3.ความเจ็บปวดจากอวัยวะภายใน(visceral pain)
4.ความเจ็บปวดจากการทำงานที่ผิดปกติของเส้นประสาท(neurogenic pain)
2.ความเจ็บปวดชั้นลึก(deep pain)
5.ความเจ็บปวดที่ไม่มีพยาธิสภาพทางร่างกาย(psychogenic pain)
1.ความเจ็บปวดชั้นผิว(superficial pain or cutaneous pain)
การอักเสบ
ผลที่ตามมาภายหลังเกิดการอักเสบ
1 more item...
3.กลายเป็นหนอง
1.กลับคืนสู่สภาพเดิมทุกประการ
4.กลายไปเป็นการอักเสบเรื้อรัง
การอักเสบเรื้อรัง
กลไกลการซ่อมแซมและการหาย
6 more items...
กระบวนการซ่อมแซม
2 more items...
ชนิดของการซ่อมแซม
2 more items...
ความผิดปกติจากการซ่อมแซมและการหาย
แผลที่หายเกิดการสร้างเซลล์ fibroblast หรือส่วนประกอบอื่น ๆ ของเนื้อเยื่อ Connective tissue มากจนผิดปกติเกิดเป็นก้อนที่แผลเรียกว่า desmaid หรือ aggressive fibromatosis
การเกิดเนื้องอก
ทำให้เกิดการสะสมเชื่อเกี่ยวพัน collagen มากจนผิดปกติบริเวณปากแผลพบก้อนแผลเป็นนูนเด่นออกมาเรียกว่า keloid
การสร้างแผลเป็นไม่แข็งแรงเพียงพอเช่นภาวะแผลแยกเป็นต้น
ลักษณะสำคัญทางพยาธิวิทยาของการอักเสบเรื้อรัง
2.การทำลายของเนื้อเยื่อ
3.การซ่อมแซมโดยการสร้างพังผืดหรือconnective tissue มาแทนที่
1.การแทรกของเซลล์ชนิด mononuclear
สาเหตุ
ได้รับสิ่งที่เป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่อเป็นเวลานาน
โรคภูมิต้านทานตนเอง
การติดเชื้อที่รักษาไม่หาย
สาเหตุที่ทำให้ของเหลวรั่วไหลออกจากหลอดเลือด
1.ผลจากการกระตุ้นของสารชักนำการอักเสบ
2.เกิดการทำลายเซลล์ผนังหลอดเลือดโดยตรง
4.เกิดการเพิ่มกระบวนการไหลซึมผ่านช่องว่างในเซลล์บุผนังหลอดเลือดที่เรียกว่า increased transcytosis
3.เกิดการรั่วไหลขณะเม็ดเลือดขาวไชทะลุผ่านผนังหลอดเลือด
5.การสร้างเซลล์บุผนังหลอดเลือดใหม่
กลไกลการอักเสบเฉียบพลัน
1.การขยายตัวของหลอดเลือด ทำให้มีเลือดมาเลี้ยงเพิ่ม
2.การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของหลอดเลือด ทำให้เซลล์และสารโปรตีนรั่วไหลไปเลือด
3.การเครื่อนตัวของเม็ดเลือดขาวออกจากเลือด เข้าสู่เนื้อเยื่อที่เกิดอันตราย
ชนิดของการอักเสบ
1.การอักเสบเฉียบพลัน
2.การอักเสบเรื้อรัง
ภาวะไข้
รูปแบบการเกิดไข้
ไข้คงที่
ไข้เป็นพักๆ
ไข้ต่ำๆ
ไข้แกว่ง
ไข้กลับ
กลไกลการเกิดไข้
1 more item...
1 more item...
สาเหตุของไข้
การบาดเจ็บของเซลล์
ความผิดปกติของระบบประสาท
การติดเชื้อดรค
ยาและสารจากภายนอกร่างกาย
ภาวะภูมิคุ้มกันต้านตนเองและภาวะภูมิคุ้มกันไวเกิน
โรคของไทรอย์
เนื้องอกหรือมะเร็ง
การจัดการกไข้
1.วัดอุณหภูมิของร่างกายและประเมินภาวะสุขภาพทั่วไป
2.ช่วยเหลือลดไข้
8.ให้การดูแลด้วยความสนใจอย่างใกล้ชิด
3.ควรให้นอนพักผ่อน
4.กระตุ้นให้จิบน้ำบ่อยๆ
5.ให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย และมีแคลอรีสูง
6.จัดบรรยากาศแวดล้อมให้อากาศถ่ายเทได้ดี
7.สังเกตอาการขาดน้ำและอาการผิดปกติอื่นๆ
ไข้หรืออาการตัวร้อนเป็นอาการทางการแพทย์ที่พบบ่อย คือการเพิ่มของอุณหภูมิของร่างกายมากว่าค่าปกติ 36.5-37.5°C