Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพ การรับรู้สติ การรับรู้ความรู้สึก และการเคลื่อนไหว …
พยาธิสรีรภาพ การรับรู้สติ การรับรู้ความรู้สึก และการเคลื่อนไหว
Pathophysiology of Neurological
เซลล์ประสาท(Nerve cell , Neuron)
และการส่งสัญญาณประสาท(Nerve Impulse)
เป็นหน่วยทำงานที่ทำหน้าท่ีควบคุม การทำงานของร่างกาย
ส่วนประกอบเซลล์ประสาท
(Nerve cell , Neuron)
ตัวเซลล์ประสาท(Cell body ; Soma )
2.แขนงประสาท (Cell Processes)ประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่นำสัญญาณประสาทเข้าสู่ตัว เซลล์ เรียกว่า เดนไดรต(Dendrites) และส่วนที่ทาหน้าที่นำสัญญาณประสาทออกจากเซลล์
เรียกว่า แอกซอน(Axon)
จำแนกชนิดของเซลล์
ประสาทตามหน้าที่
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(Sensory neuron)
เซลล์ประสาทประสานงาน(Interneuron)
เซลล์ประสาทสั่งการ(Motor neuron)
เซลล์พี่เลี้ยงหรือเซลล์ค้ำจุน(Neuroglia)
แอสโตรไซด์(Astrocyte) ทำหน้าที่ควบคุมความเข้มข้นของอิเลตโตรไลต์ความสมดุลกรด-ด่าง
เซลล์ไมโครเกลียล(Microglial cell) ทำหน้าที่ย่อยสลายสิ่งแปลกปลอม
เซลล์เอเพนไดมัล(Ependymal cell) ทำหน้าที่สร้างน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
เซลล์โอลิโกเดนโดรไซด์ ทำหน้าที่สร้างเยื่อหุ้ม
เส้นประสาทนิวริเลมมา และเยื่อหุ้มไมอิลีน
บริเวณประสานประสาท(Synapse) ตัวรับ
(Receptor)และสารสื่อประสาท(Neurotransmitter)
ไซแนปส์เคมี (Chemical synapse)พบได้เกือบทั้งหมดในระบบประสาทของมนุษย์ที่โตเต็มที่แล้ว
ไซแนปส์ไฟฟ้า (Electrical synapse) มีโครงสร้างและการทำงานที่ไม่ซับซ้อน มีความสำคัญในการเจริญพัฒนาของ (เอ็มบริโอ)
สารสื่อประสาท(Neurotransmitter)
อะเซทิลโคลีน
โมโนเอมีน
กรดอะมิโน
การส่งสัญญาณประสาท(Nerve Impulse)
ศักยะงานวิ่งมาถึงปลายแอกซอน
เซลล์ก็จะเปิดช่องแคลเซียมที่เปิดปิดโดยศักย์ไฟฟ้า
ไอออนแคลเซียม
ไหลเข้ามาในปลาย
แคลเซียมจะทำให้ถุงไซแนปส์ จำนวนหนึ่งที่เต็มไปด้วยโมเลกุลสารสื่อประสาทเชื่อมเข้ากับเยื่อหุ้มเซลล์
ปล่อยสารเขาไปในร่องไซแนปส์
สารก็จะแพร่ข้ามร่องไซแนปส์และออกฤทธิ์กับตัวรับของนิวรอนหลังไซแนปส์
ระดับแคลเซียมที่สูงขึ้นในไซโทพลาซึมที่ปลายแอกซอนเพื่อเป็นพลังงานดำรงการสื่อประสาท
วิถีประสาท (Nerve Pathway)
เชื่อมต่อกันเป็นทอดๆเพื่อส่งกระแสประสาทจากส่วนหนึ่งของระบบประสาทไปยังอีกส่วนหนึ่ง
Lateral tract pathway เกี่ยวกับอุณหภูมิ
Anterior tract pathway เกี่ยวกับการสัมผัสอย่างหยาบ
การทรงตัว
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และหน้าที่ปฏิกิริยา
การปรับตัว และความผิดปกติของการรู้สติ การรับความรู้สึก การเคลื่อนไหว และการนอนหลับพักผ่อน
ระบบประสาทส่วนปลาย
(Peripheral Nervous System: PNS)
ทำหน้าที่รับและส่งกระแสประสาทหรือข้อมูลที่ได้รับจากส่วนต่างๆของร่างกายเข้าสู่สมองและไขสันหลัง
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve)
ทำหน้ําที่เป็นทางเชื่อมของสารสนเทศระหว่างสมองและหลายบริเวณ ส่วนใหญ่คือศีรษะและคอ
หน้ําที่ของระบบรับความรู้สึก คือ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นร่างกายในรูปแบบต่างๆ ซึ่งจะมีผลให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมและมีชีวิตอยู่รอดได้
องค์ประกอบของโครงสร้างพื้นฐาน
วิถีประสาทรับความรู้สึก
เปลือกสมองใหญ่ส่วนรับความรู้สึก
ตัวรับความรู้สึก
2 more items...
องค์ประกอบ
เส้นประสาทสมอง (Cranial Nerve) 12 คู่
เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal Nerve) 31 คู่
เซลล์ประสาท (Neuron)
การได้ยิน
มีการกระตุ้นเซลล์ขนใน Organ ofcorti
สัญญาณประสาทจะถูกส่งผ่าน(Transmission)ของการได้ยิน
ไปที่สมองเพื่อแปลเสียงที่ได้ยิน
สูญเสียการได้ยิน
(Hearing loss)
Conductive hearing loss เกิดจากการขัดขวางการนำคลื่นเสียงผ่านช่องหูเยื่อแก้วหูและกระดูกทั้ง 3ชิ้นสมอง การรักษา ได้แก่การให้ยาปฏิชีวนะ การผ่าตัดตกแต่ง
Sensoryneural hearing lossความผิดปกติของวิถีประสาทการได้ยินตั้งแต่CNVIII จนถึงก้านสมองการแก้ไข ได้แก่ ใช้เครื่องช่วยฟัง
Central hearing loss เกิดจากพยาธิ
สภาพที่ Auditory cortex ทำให้ไม่รับรู้
เสียงที่จำเป็นต่อการได้ยิน จำเสียงไม่ได้
ไม่เข้าใจความหมาย
สาเหตุการเสียการทรงตัว
เกิดจากระบบการทรงตัวส่วนปลายหรือระบบประสาทควบคุมการทรงตัวในหูชั้นในได้แก่ พยาธิสภาพในหู เช่น การอักเสบ
เกิดจากระบบประสาทส่วนกลางเช่น การขาดเลือดไปเลี้ยงสมอง ส่วนที่ควบคุมการทรงตัวหรือได้รับการกระทบกระเทือน
ระบบประสาทอัตโนมัติ(Autonomic Nervous System:ANS)
ควบคุมการทำงานของร่างกายภายนอก
อำนาจจิตใจที่เกิดจากการกระตุ้นด้วยการเปลี่ยนแปลงของ
ไฮโปทาลามัสควบคุมการทำงานของANS และต่อมไร้ท่อ
เพื่อรักษาความคงสภาพของร่างกายไว้
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ ปฏิกิริยาและการปรับตัวของ ระบบประสาทสั่งการ การเคลื่อนไหว การรู้สติ การนอนหลับ
เป็นศูนย์กลางรับ ประมวลวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลจากนั้นนำคำสั่งมายังอวัยวะเป้าหมายซึ่งทำงานภายใต้อำนาจจิตใจ
การควบคุมการเคลื่อนไหว
มีการส่งผ่านสัญญาณประสาทจาก motor cortex สู่ motor unit สิ้นสุดที่ neuromuscular junction เพื่อให้เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ
มีการทำงานของกล้ามเนื้อในการหดตัวและคลายตัวที่ประสานกัน เพื่อขยับโครงกระดูกให้เคลื่อนที่
มีการทำงานของกระดูกในการเป็นแกนแข็งพยุงกล้ามเนื้อเป็นคานสำหรับเคลื่อนที่
การรู้สติหรือความรู้สึก(Consciousness)
เป็นการทำงานของระบบประสาทที่สำคัญ
วิเคราะห์ แปล ทำความเข้าใจกับสิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้น
ผลกระทบของการนอนหลับผิดปกติ
สาเหตุการนอนไม่พอ
ขาดการออกกำลังกาย
นอนกลางวันมากเกินไป
และมีความวิตกกังวลในเรื่องต่างๆสูง
1 more item...
Night 1: experience is uncomfortable, but tolerable
ภาวะสมองเสื่อม
(Dementia)
Stroke
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
(Traumaticbrain injury)
การบาดเจ็บระยะแรก(Primary
Head injury)ถลอก ปวด บวม
ฉีกขาด กะโหลกแตก/ยุบ
การบาดเจ็บระยะที่2
(Secondary Head injury)
เป็นภาวะแทรกซ้อนหลังเกิดการบาดเจ็บในระยะแรก มีก้อนเลือดในชั้นสมองแต่ละชั้น(เช่น EpiduralHematoma) ภาวะความดันกะโหลกศีรษะสูง(Intracranial pressure:IICP)ภาวะสมองเคลื่อน(Brain Hernia)
การประเมินการรู้สติ
การลืมตา(Eye movement) จะมีคะแนนตั้งแต่ 1-4
การเคลื่อนไหว(Motor response) 1-6
โดยการแปลผลเช่น E4V5M6
การออกเสียง(Best Verbal command)
จะมีคะแนนตั้งแต่ 1-5แต่หากผู้ป่วยมี
ท่อช่วยหายใจจะเขียนเป็น VT
ระดับการรู้สติ
Fullconsciousness สามารถตอบสนองได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว
Confusion ภาวะสับสนไม่รู้วันเวลาสถานที่ ไม่ค่อยทำตามคำสั่ง
Semi-coma เป็นภาวะที่ผู้ป่วยนอนนิ่งบนเตียง ไม่เคลื่อนไหว
Comaเป็นภาวะที่ผู้ป่วยไม่ตื่นเมื่อถูกกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด
Lethargyพูดช้ากระบวนการคิดช้า
1 more item...
E=การตอบสนองของตา
M= การตอบสนองด้าน
การเคลื่อนไหว
B=ตรวจการตอบสนองของรูม่านตา
R=ลักษณะการหายใจ
ภาวะสมองเสื่อม(Dementia)
เกิดจากการเสียหน้าที่Basal Ganglia ทำให้การหลั่งDopamin จากSubstaintia Nigraลดลง โดยเป็นความผิดปกติของการส่งผ่านของประสาทสั่งการ(Transmission in Motor system)
อาการ
อาการเดินเซ
หมุนตัวลำบาก
สาเหตุเกิดจากหลอดเลือดสมองแข็งตัวสมองรับเลือดไปเลี้ยงน้อยลง
ลดปัจจัยการเกิด
ออกกำลังกาย
งดดื่มสุรา งดสูบบุหรี่
งดอาหารไขมันสูง
หน้ามืด
เป็นลม
เดินตัวแข็งมือแขนไม่ขยับหรือแกว่ง
นางสาว ปาริชาต ทองยัง
UDA6380062