Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคไม่ติดเชื้อทางระบบประสาท - Coggle Diagram
โรคไม่ติดเชื้อทางระบบประสาท
ปวดศีรษะ (Headache)
Tension Headache
อาการ
รู้สึกเหมือนมีเชือกมารัด โดยไม่ผ่อนคลายเลย
อาการอยู่ต่อเนื่องหลายวัน
ความรุนแรงไม่สม่ำเสมอ ขึ้นๆลงๆ
มีอาการปวดนานกว่า 15 วัน ใน1 เดือน
กล้ามเนื้อของคอด้านหลังแข็งตึง
ปัจจัยกระตุ้น
ความอ่อนล้า
ความเครียด
Cluster Headache
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
บางครั้งจัดอยู่ในกลุ่ม Migraine
อาการ
ปวดรอบกระบอกตา เป็นๆหายๆ ติดต่อกันนาน
อาการปวดอยู่นานตั้งแต่ 15 นาที ถึง 3 ชั่วโมง
ลักษณะอาการปวดเป็นแบบปวดลึกๆน่ารำคาญ
อาจมี Honner’s sysdrome คือ รูม่านตามเล็ก เยื่อตาขาวสีแดง น้ำมูก น้ำตาไหล
อาการปวดจะหายไปเป็นเวลาหลายเดือนถึงหลายปี และเกิดมีอาการอีก
อาการจะมากขึ้น เมื่อดื่มแอลกอฮอล์
พบในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ใบไม้ร่วง
การรักษาและการดูแล
การให้ออกซิเจน mask 9 liter/min หรือสูดดมออกซิเจน 100% นาน 15 นาที อาการปวดจะทุเลาลง
หยอด Lidocaine ชนิด 4% topical หรือ 2% viscous ทางจมูก
ให้ยา Prednisone, Lithium methysergide, Ergotamine และ Verapamil
Migraine Headache
สาเหตุ
เกิดจากหลอดเลือดหดตัวทำให้ขาดเลือดขึ้นไปสมอง
ปัจจัยกระตุ้น
การอดอาหาร
กินอาหารที่มีสาร Tyramine
ยาลดความเครียด
อาการ
ปวดศีรษะข้างเดียว ซึ่งเป็นด้านตรงข้ามกับข้างที่มีพยาธิสภาพ
ปวดแบบตุ๊บๆ และเห็นเส้นเลือดเต้น
กลัวแสง เสียง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
อาการปวดจะหายภายใน 4 – 72 ชั่วโมง
มีอาการเตือนทางตามาก่อนปวดศีรษะ 20 นาที เช่น เห็นแสงวูบวาบ
อาการอื่นที่อาจพบร่วมด้วย 12 – 24 ชั่วโมง ก่อนมีอาการ เช่น สบายมากเกินปกติ เคลิบเคลิ้ม อ่อนล้า หาว อยากกินของหวาน
การรักษาและการดูแล
หากไม่ได้ผล พิจารณาให้ยา Butalibital, Caffeine, Ibuprofen (600 – 800 mg), Naproxan (375 – 750 mg) Isometheptene compound 1 – 2 capsule ทางปาก
หากไม่ได้ผล พิจารณาให้ยา Butalibital, Caffeine, Ibuprofen (600 – 800 mg), Naproxan (375 – 750 mg) Isometheptene compound 1 – 2 capsule ทางปาก
ให้ยา Aspirin หรือ Paracetamol
Dihydroergotamine ทางหลอดเลือดดำ
จัดสิ่งแวดล้อมที่สงบ ไม่มีแสงมาก
โรคลมชัก (Epilepsy)
โรคลมชัก(Epilepsy) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการชัก (Seizure) เกิดขึ้นหลายครั้ง และมีโอกาสเกิดขึ้นซ้ำอีก อาการผิดปกติที่เกิดขึ้นจะคล้ายๆ หรือเหมือนกัน
ภาวะชัก(seizure) หมายถึง อาการผิดปกติซึ่งเป็นผลมาจากคลื่นไฟฟ้าผิดปกติในสมอง ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว ทันทีทันใด และเป็นผลให้มีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการรับรู้ ความรู้สึกตัว
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง เกิดจากการขัดขวาง Neuron cell membrane ซึ่งมีสาเหตุจาก
ความพิการของสมองตั้งแต่เกิด การบาดเจ็บของสมองระหว่างคลอด
ปัญหาเกี่ยวกับการเผาผลาญ เช่น ภาวะขาดออกซิเจนน้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซียมในเลือดต่ำ
มีการทิ่มแทงเข้าไปในเนื้อสมอง (50%)
การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง เนื้องอกในสมอง ติดเชื้อ บาดเจ็บซ้ำๆ ติดสุราเรื้อรัง สับสน เพ้อคลั่ง โรคอัลไซเมอร์
การได้รับการบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรง
การชักเฉพาะที่ (Partial seizure)
การชักเฉพาะที่และไม่หมดสติ (Partial seizure with on loss of consciousness) สามารถจำแนกเป็น 4 ชนิด
อาการชักเฉพาะที่ ที่มีอาการผิดปกติของการรับรู้ (Somatosensory manifestation) : ชา เจ็บ เห็นแสงวูบวาบ
อาการชักเฉพาะที่ ที่มีอาการผิดปกติของการเคลื่อนไหวอัตโนมัติ (Autonomic manifestation) : แน่นท้อง ใจสั่น เหงื่อออก
อาการชักเฉพาะที่ ที่มีอาการผิดปกติของการเคลื่อนไหว (Motor manifestation) : กระตุกที่ใดที่หนึ่ง
อาการชักเฉพาะที่ ที่มีอาการผิดปกติของจิตใจ (Psychic manifestation) : ได้กลิ่น เสียงแปลกๆ, deje vu
การชักเฉพาะที่แบบซับซ้อน (Complex partial seizure) สามารถจำแนกเป็น 2 ชนิด
การชักเฉพาะที่ร่วมกับการเคลื่อนไหวที่ไม่รู้สึกตัว (Complex partial seizure with Automatisms) : เม้มปาก เคี้ยว
การชักเฉพาะที่นำไปสู่การชักทั้งตัว (Partial seizure evolving to secondary generalized seizure) : อาการชัดเริ่มจุดใดจุดหนึ่งและลามไปทั้งตัว
การชักทั้งตัว (Generalized seizure)
Clonic seizure : เป็นการชักที่มีการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อเป็นจังหวะ
Tonic seizure : เป็นการชักแบบเกร็งทั้งตัว
Myoclonic seizure : เป็นการกระตุกของกล้ามเนื้อ กลุ่มเดียวหรือหลายกลุ่ม โดยไม่สามารถควบคุมได้ บางที่ผู้ป่วยอาจล้ม
Tonic – Clonic seizure (Grand mal) : มีขั้นตอนของการชัก ดังนี้
อาจหมดสติแบบทันใด
Tonic phase : ร่างกายแข็งเกร็ง ขากรรไกรแข็ง กำมือ ตาเบิกโพลง ม่านตาขยาย ใช้เวลา 30 – 60 วินาที
อาการเตือน (Aura) อาจมีหรือไม่มีก็ได้
Clonic phase : กระตุก น้ำลายมาก ปัสสาวะราด
ระยะเวลาของ Tonic-Clonic phase ประมาณ 2-5 นาที หลังจากนั้นผู้ป่วยจะผ่อนคลาย และหลับไปประมาณ 30 นาที
Absence seizure : เกิดในวัยเด็กและวันรุ่นตอนต้น มีอาการหมดสติไปชั่วครู่ จ้อง เหม่อ นิ่ง การชักแบบนี้ต่อไปอาจเป็นแบบ Grand mal หรือ Partial seizure ได้
การวินิจฉัย
การซักประวัติเกี่ยวกับการชัก
การตรวจพิเศษ
CT Scan
MRI
Electroencephalography (EEG)
การรักษาการชักทั้งตัว (Generalized seizure)
การป้องกันอันตรายระหว่างชัก
ป้องกันอันตรายจากการบาดเจ็บ
สังเกตลักษณะการชัก
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง ได้แก่ ตะแคงหน้าผู้ป่วย เตรียม Oral airway และเครื่อง Suction ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้
ให้ยากันชักตามแผนการรักษา
Barbiturates
Valpoate sodium
Phenytoin
การผ่าตัด (25%) จะพิจารณาทำในกรณีที่รักษาด้วยยาไม่ดีขึ้น
Temporal lobectomy
Hemispherectomy
Corpus callosotomy
ภาวะชักอย่างต่อเนื่อง (Status Epilepticus)
หมายถึง ภาวะที่ผู้ป่วยมีการชักติดต่อกัน ชักเร็วติดๆ กัน โดยไม่มีระยะรู้สึกตัวเลย ซึ่งมีระยะเวลาชักอย่างน้อย 30 นาที
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากการหยุดยาต้านการชักกะทันหัน
การรักษา
เฝ้าระวังอันตรายที่เกิดจากการชัก
ให้ยาต้านการชัก เช่น Diazepam 5 – 10 mg, Lorazepam 4 mg, Phenytoin 15 – 18 mg/Kg
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ให้ออกซิเจน