Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจากการประกอบอาชีพ Occupational Diesases - Coggle Diagram
โรคจากการประกอบอาชีพ
Occupational Diesases
โรคจากสารเคมี
Diseases caused by chemical agents
โรคจากตะกั่ว (Disease caused by lead or its toxic compound)
ปัจจัย/สาเหตุ
อาชีพที่มีความเกี่ยวข้องกับสารตะกั่ว
ได้แก่
๒. คนงานโรงงานถลุงแร่ตะกั่ว
ได้แก่
๓. คนงานโรงงานอุตสาหกรรมผลิต ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์
๔. คนงานโรงงานผลิตแบตเตอรี่
๕. คนงานโรงงานผลิตสี
๖. คนงานโรงงานชุบโลหะ
๗. คนงานโรงงานทำเครื่องปั้นดินเผา/ เซรามิก
๘. คนงานโรงงานทำเครื่องประดับโลหะ
๙. คนงานโรงงานทำลูกปืน
๑๐. คนงานบัดกรีตะกั่ว
๑๑. คนงานเรียงพิมพ์ และหล่อตัวพิมพ์
๑๒. คนงานโรงงานผลิตและบรรจุสาร กำจัดศัตรูพืช
๑๓. คนงานทา หรือพ่นสีกันสนิม และ สีทาบ้าน
๑๔. คนงานโรงงานผลิตแก้ว
๑๕. คนงานที่ทำงานเกี่ยวข้องกับน้ำมัน เบนซินที่ผสมสารตะกั่ว (ตะกั่วอินทรีย์) เช่น เด็ก สถานีบริการน้ำมัน ช่างซ่อมเครื่องยนต์
๑๖. อาชีพอื่นๆ เช่น ตำรวจจราจร ฯลฯ
๑. คนงานทำเหมืองตะกั่ว
การป้องกัน/รักษา
ควบคุมการปล่อยมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมให้เป็นไปตามกฎหมาย ซึ่งกำหนดให้มีปริมาณสารตะกั่วในน้ำทิ้งจากโรงงานไม่มากกว่า ๐.๒ มิลลิกรัมต่อลิตร และกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำทิ้ง ต้องมีการทำลายอย่างถูกหลักวิชาการ
เปลี่ยนการใช้น้ำมันเบนซินมาเป็นชนิดไร้สารตะกั่ว
ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคพิษตะกั่ว และการป้องกัน
ควบคุมไม่ให้มีการใช้สารประกอบตะกั่ว ในการผลิตอาหาร เครื่องดื่ม ยา และเครื่องสำอาง
อัตราการชุก/อุบัติการ
พ.ศ. 2543-2552
ผู้ป่วยพิษสารตะกั่ว จำนวน 397 ราย เฉลี่ยปีละ 39.7 ราย
ปี พ.ศ. 2544
จำนวน 104 ราย
ปี พ.ศ. 2548
จำนวน 14 ราย
โรคจากสารหนู
Disease caused by arsenic or its toxic compound
ปัจจัยและสาเหตุ
สารหนูเข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทาง
การหายใจ
การดูดซึมที่ผิวหนัง
การรับประทานอาหาร
อาชีพที่ได้รับสารหนู
อุตสาหกรรมแก้ว
การผลิตสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
การผลิตสี สีย้อม
การผลิตน้ำยาถนอมเนื้อไม้ :
อุตสาหกรรมผลิตแบตเตอรี่
การป้องกัน
ไม่ควรดื่มน้ำจากแหล่งธรรมชาติโดยตรง
ตรวจสอบฉลากอาหาร หรือผลิตภัณฑ์ที่มักมีสารหนูเจือปนอยู่ก่อนเลือกซื้อทุกครั้ง
หากใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดบ้าน ลบรอยเปื้อน หรือยาปราบวัชพืชที่ใช้มีสารหนูเป็นส่วนผสมอยู่ควรหลีกเลี่ยง เปลี่ยนยี่ห้อ หรือใช้ในพื้นที่ สิ่งของที่เสี่ยงถูกจับต้องน้อยที่สุด และเก็บให้พ้นมือเด็ก
ไม่ควรอยู่อาศัยใกล้แหล่งโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้สารหนูเป็นส่วนประกอบ เพราะอาจทำให้ร่างกายของคุณปนเปื้อน หรือรับสารหนูเข้าไปทีละนิดจนเกิดการสะสม
การมีการทำงานเกี่ยวกับโรงงานที่มีส่วนประกอบของสารหนู
ควรหาอุปกรณ์เพื่อป้องกันการสูดดมเช่น การใส่หน้ากาก และป้องกันการสัมผัสที่ผิวหนังคือ การใส่ชุด/เสื้อผ้าที่มิดชิดหรือชุดที่สามารถป้องกันสารเคมีได้
อัตราชุก/อุบัติการณ์การเกิดโรค
ปี 2548-2549
คิดเป็นอัตราการป่วย 23.51
ปี 2539
คิดเป็นอัตราการป่วย 26.3
การได้ยินเสื่อมจากเสียงNoise - induced hearing loss (NIHL)
ปัจจัย/สาเหตุที่ทำให้เกิดโรค
ได้รับสัมผัสเสียงดังเกินมาตรฐานซึ่งอาจจะมาจากสภาพแวดล้อมการทำงานหรือจากสภาพสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวทำให้เกิดผลหระทบต่อ
อาชีพที่เกี่ยวข้อง
งานตัดไม้ เลื่อยไม้
อุตสาหกรรมสิ่งทอ
งานอุตสาหหกรรมโลหะ
อาชีพขับรถรับจ้าง
นักดนตรี
แนวทางการแก้ไข
หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรืออยู่ยริเวณที่มีเสียงดังหรือลดระยะเวลาที่สัมผัสกับเสียงดีงต่างๆ
ใส่อปุกรณ์เช่นปลั๊กอุดหู (Ear Plugs) / ครอบหู (Ear Muff)
เผยแพร่ความรู้เพื่อให้ตระหนักถึงอันตรายของเสียง
ทดสอบสมรรถภาพการได้ยินของพนักงานที่ต้องสัมผัสกับเสียงดัง
อัตราความชุก/อุบัติการณ์
ปี 2560 มีอัตราป่วยเป็นจำนวน 42,946 คน คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 71.29 ต่อประชากรแสนคน
ปี 2561 มีอัตราป่วยเป็นจำนวน 1,076 คน คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 1.78 ต่อประชากรแสนคน
ปี 2559 มีอัตราป่วยเป็นจำนวน 60,946 คน คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 101.49 ต่อประชากรแสนคน
โรคจากความร้อน
(Disease caused by heat radiation
ปัจจัยสาเหตุ
การทำงานมีแสงจ้ามากเกินไป
เกษตรกรทำงานในที่โล่งแจ้งมีการสัมผัส ความร้อนสูงมาก ในระยะเวลานาน
สัมผัสกับอากาศร้อนอบอ้าว
แนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
จัดให้มีน้ำเย็นและกระตุ้นให้คนงานดื่มน้ำบ่อยๆ ในระหว่างทำงานที่มีอากาศร้อน อย่างน้อยครั้งละ 1 แก้วทุก 20 นาที
จัดให้มีช่วงเวลาพักบ่อยกว่าการทำงานในสภาพปกติ และบริเวณที่พักมีสภาพอากาศไม่ร้อน
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของความร้อนที่อาจทำให้เกิดการเจ็บป่วย และการป้องกันอันตรายจากความร้อน
สวมใส่เสื้อผ้าที่ระบายอากาศได้ดี
อัตราชุก/อุบัติการณ์การเกิด
ระดับความชุกในรอบ 3 ปี =13.54 ต่อเกษตรกรแสนคน (ตั้งแต่ปี 2559 – 2561 )
โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อจากการทำงาน(0ccupational musculo-skeletal disorders)
สาเหตุ/ปัจจัย
ได้แก่อาชีพ
พยาบาล
เกษตรกร
งานออฟฟิช
รับจ้าง
พนักงานขับรถ
แนวทางการแก้ไข
หยุดพักการทำงานเป็นระยะๆ
การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ
ปรับท่าทางในการทำงานให้เหมาะสมกับลักษณะและประเภทของงาน
การลุกยืนและเปลี่ยนท่านั่ง หรือท่าทำงาน
อัตราชุก/อุบัติการณ์การเกิดโรค
ปี 2559
พบผู้ป่วยโรคกระดูกและกล้ามเนื้อเฉพาะรายที่เกี่ยวข้องกับภาวะทำงาน 81,226 ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อประชากรแสนราย เท่ากับ 135.26
ปี 2560
พบผู้ป่วยโรคกระดูกและกล้ามเนื้อเฉพาะรายที่เกี่ยวข้องกับภาวะทำงาน 100,734 ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อประชากรแสนราย เท่ากับ 167.22