Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิจัยเชิงประวัติศาสตร์, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 - Coggle Diagram
วิจัยเชิงประวัติศาสตร์
ลักษณะของการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
อธิบายเหตุการ์ในอดีตเพื่อประโยชน์ของการอธิบายในเหตุการ์ปัจจุบัรและใช้ทำนายอนาคต
ไม่ใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
จะใช้เป็นหลักฐานต่างๆในอดีต
ผู้วิจัยไม่สามารถสร้างสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้
หลักฐานต่างๆที่ใช้นั้นจะเกิดขึ้นเองตามเหตุการ์
เป็นการวิจัยที่ใช้เอกสารแหละห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวม
ประโยชน์ของการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
ผลการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์สามารถน ามาใช้แก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆ ในปัจจุบันได้
ทำให้เราทราบสภาพของปัญหาที่เกิดขึ้นในอดีต
ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขสิ่ง ต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาวะ
ปัจจุบันได้
ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขสิ่ง ต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาวะ
ปัจจุบันได้
ชนิดของการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
ศึกษาเป็นรายกรณี
2.การศึกษาพัฒนาการ
3.การศึกษาความเปลี่ยนแปลง
ความมุ่งหมายทั่วไปของการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
4.เพื่อใช้เหตุการณ์ในอดีต เป็นแน้วโน้มที่จะทำนายเหตุการ์ในอนาคต
เพื่อค้นหาข้อสมมติฐานขึ้นบนรากฐานความที่ตั้งบนความรู้และประสบการณ์ในอดีตไปใช้ในอนาคต
เพื่อศึกษาต้ตตอของทฤษฎีต่าง ๆ ทำให้เกิดความกระจ่างในเรื่องราวหรือทฤษฎีในปัจจุบัน
เพื่อให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้งในเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ และช่วยให้เกิดความรู้สึกที่ดีในปัจจุบันและเรื่องราวที่จะเกิดในอนาคต
3.เพื่อให้เข้าใจสภาพเหตุการณ์ในปัจจุบัน ที่อาจมีสาเหตุมากจากในอดีต
2.ศึกษาให้เห็นถึงสภาพความเป็นจริงและลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์
สร้างเสริมความรู้ความจริงให้มากขึ้นตามลำดับ
เพื่อค้นหารากฐานของสิ่งที่ต้องการศึกษาวิจัย
เพื่อชี้ให้เห็นถึงข้อดีและข้อเสียของเหตุการณ์ในอดีตและปัจจุบัน
แหล่งที่มาของข้อมูลในการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
ข้อมูลชั้นต้น
เอกสารต่างๆ
ซากโบราณวัตถุ
คำให้การ
ข้อมูลชั้นรอง
วารสาร
สารานุกรม
พงศาวดาร
เคารพศักดิศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย
2.ตั้งจุดมุ่งหมาย
รวบรวมข้อมูล
4.จัดข้อมูลเป็นหมวดหมู่
1.เลือกหัวข้อปัยหาที่จะทำการวิจัย
ประเมินผล
เขียนรายงานการวิจัย
ข้อบกพร่องของการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
ข้อมูลมีไม่เพียงพอ
ปัญหาหรือเรื่องที่จะทำการวิจัยเป็นเรื่องที่กว้างเกินไป
ปัญหาหรือเรื่องที่จะทำการวิจัยเป็นเรื่องที่กว้างเกินไป
การคัดเลือกข้อมูลไม่ถูกต้อง
การวิเคราะห์ข้อมูลตามหลักตรรกศาสตร์บกพร่อง
ประเมินคุณค่าของข้อมูลไม่เพียงพอ
การเขียนรายงานการวิจัยมักขาดการวิเคราะห์ วิจารณ์
การวิจารณ์หรือประเมินคุณค่าข้อมูลในทางประวัติศาสตร์
ประเมินภายนอก
ประเมินผลภายใน
1
2
3
4
5
6
7
8