Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพ,…
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพ
หมดที่1 บททั่วไป(ข้อ4)
การรักษาโรคเบื้องต้น
กระบวนการประเมินสุขภาพต่างๆรวมไปถีงการแก้ปัญเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นจากการเจ็บป่วย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การประเมินให้การช่วยเหลือและบำบัดดูแลรักษาอย่างทันท่วงที
การเจ็บป่วยวิกฤต
เจ็บป่วยที่มีผลต่อชีวิตของผู้ป่วยโดยให้การปฐมพยาบาลช่วยเหลือเเก่ผู้บาดเจ็บนอกจากนี้ให้ภูมิคุ้มกันแก่ผู้ป่วยเพื่อให้ร่างกายผู้ป่วยมีภูมิต้านทานต่อเชื้อโรค
หมดที่2การประกอบวิชาชีพพยาบาล
ส่วนที่1(ข้อ5-8)
ข้อ6 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1จะให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ระบุตามแผนรักษา
6.2 ห้ามให้ยาหรือสารละลายที่เกี่ยวข้อกับรังสีหรือยาอื่นตามสภาการพยาบาลกำหนด
6.1 ห้ามให้ยาหรือสารละลายในช่องเยื่อบุไขสันหลังหรือช่องไขสันหลังหรือสายสวนทางหลอดเลือดดำส่วนกลางและช่องอื่นๆตามสภาการพยาบาลกำหนด
ห้ามสารละลายทึบรังสีทุกชนิดแต่สามารถช่วยเตรียมเครื่องมือ ดูแลเฝ้าระวังให้ผู้ป่วยโดยช่วยแพทย์ได้ตามแผนการรักษา
เคมีบำบัดต้องเข้าการอบรมก่อน
ต้องผ่านการอบรมการให้ยาเคมีบำบัดตามที่สภากำหนด
ต้องเป็นกลุ่มยาเคมีบำบัดที่ได้ผสมเรียบร้อยแล้วจากผู้รับผิดชอบหน้าที่ที่ไม่ใช่วิชาการพยาบาล
ต้องให้กลุ่มยาเคมีบำบัดได้เฉพาะทางหลอดเลือดดำส่วนปลายหรือที่เปิดไว้แล้วโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ห้ามกลุ่มยาระงับความรู้สึกที่ให้ทางหลอดเลือดดำยกเว้นได้ผ่านการอบรมและปฏิบัติงานห้องผ่าตัด เช่น (Thiopental sodium)(Ketamine hydrochloride)(Propofol) (Etomidate)
ข้อ7ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้น2 กระทำการพยาบาลที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนหากทำปัญหายุ่งยากต้องทำร่วมกับผู้ประกอบวิชาชีพกสรพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1
ข้อ 5 ผู้ประกอบวิชาชีพกสรพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1กระทำการโดยใช้กระบวนการพยาบาล
5.3 จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อเเก้ปัญหาเจ็บป่วย
5.4 ปฏิบัติตามแผนการพยาบาล ใช้เครื่องมือติดตามผลรวมทั้งประสานทีมสุขภาพให้เป็นตามมาตฐานสภาการพยาบาล
5.2 สอน แนะนำ ให้คำปรึกษาและแก้ไข้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยวางแผนรการรักษาสร้างเสริมดารดูแลตนเองให้กับประชาชน
5.5 ให้การพยาบาลที่บ้านส่งเสริมความสามารถชุมชนให้ใช้ชีวิตปกติสุขและอยู่กับความเจ็บได้อย่างมีคุณภาพที่ดี
5.1 กระทำการต่อร่างกายและจิตใจของบุคคลสามารถรักษาคนได้ทุกระดับ รวมถึง ส่งเสริม รักษา ป้องกัน ฟื้นฟู
ข้อ8 ประกอบวิชาชีพกสรพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น2ให้หาผู้รับบริการได้เฉพาะภายนอกให้ทางยาปากและยาภายนอกที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามแผนการรักษาระบุไว้ก้ามให้ยาตามข้อ 6.1-6.2
ส่วนที่2 การทำหัตถการ(ข้อ9)
ข้อ9 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1กระทำการพยาบาลโดยทำหัตถการตามขอบเขตกำหนด
9.8 การเปิดทางเดินหายใจให้โล่งด้วยดูดเสมหะ การเคาะ
9.6 ให้ยา ทางปาก ผิวหนัง หลอดเลือดดำหรืออื่นๆตามแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือตามสภาการพยาบาลกำหนด
9.4 การให้ออกซิเจน
9.7 การให้เลือดตามแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
9.1 การทำแผลเย็บแผลลึกไม่เกินชั้นเนื้อเยื่อไขมันใต้หนังและไม่อยู่ในตำแหน่งในอวัยวะอันตรายแผลน้ำไฟไหม้หรือสารเคมีไม่เกินระดับ2ของแผลไหม้
9.5 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำในผู้ป่วยวิกฤตให้ตามแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
9.2การผ่าตัดเอาสิ่งสกแปลกปลอมการเลาะใต้ผิวหนังและไม่อยู่ตำแหน่งอวัยวะอันตรายโดยใช้ยาระงับความรู้สึกฉีดเฉพาะที่ที่เอาสิ่งแปลกปลอมออก
9.3การถอดเล็บ จี้หูดโดยใช้ยาระงับความรู้สึกฉีดเฉาะที่
9.9 การช่วยฟื้นคืนชีพเพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤตของผู้ป่วย
9.10 การเช็ด ล้าง หยอด ป้าย ปิดตาหรือการล้างจมูก
9.11 การสอดใส่สายยางลงไปในกระเพาะอาหารเพื่อให้ยา ล้างสารพิษตามแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
9.15 การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
9.12 การสวนปัสสาวะหรือเปลี่ยนสายสวนในรายไม่ผิดปกติของระบบปัสสาวะ
9.13 การสวนทางทวารหนักในรายที่ไม่บ่งชี้อันตราย
9.14 การดามหรือใส่เฝือกชั่วคราว
9.16 การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดดำสวนปลายหรือสารคัดหลั่งเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการตามสภาการพยาบาลกำหนด
9.17 หัตการอื่นๆตามที่สภาการพยาบาลกำหนด
หมวดที่3 การรักษาโรคเบื้องต้นและให้ภูมิคุ้มกัน ข้อ(ข้อ 10-15)
ข้อ11ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ผ่านดารอบรมตามหลักสูตรที่สภาการพยาบาลกำหนด
11.1 สาขาที่ศึกษาเฉพาะทาง
11.1.1 สาขาเวชปฏิบัติทั่วไป
11.1.5สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติการ
บำบัดทดแทนไต(ฟอกเลือดด้วยเครื่องไต)
11.1.4สาขาเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไต(ล้างช่องท้อง)
11.1.6สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ
11.1.3 สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉิน
11.1.7สาขาการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต (ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ)
11.1.2สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา
11.1.8สาขาการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อและการควบคุมการติดเชื้อ
11.1.9สาขาการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง
11.1.10สาขาการพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด
11.1.11สาขาการพยาบาลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
11.1.12สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว
11.1.13สาขาการจัดการโรคเรื้อรัง
11.1.14สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
11.1.15การพยาบาลสาขาอื่นที่สภากำหนด
11.2 ผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรได้รับหนังสืออนุมัติดังนี้
11.2.2การพยาบาลเด็ก
11.2.3การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
11.2.4การพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อและการควบคุมการติดเชื้อ
11.2.5การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
11.2.6การผดุงครรภ์
11.2.1การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
11.2.7การพยาบาลมารดาและทารก
11.2.8การพยาบาลสาขาอื่นที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
11.3ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ตามข้อ11.1 11.2นอกจากปฏิติบัติตามข้อ 9-10ได้เเล้วสามารถทำการพยาบาลรักษาโรคเบื้องต้น หัตถการในสาขาอบรมตามบังคับสภาการพยาบาลกำหนด
ข้อ12ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ทำการรักษาโรคเบื้องต้นปละให้ภูมิคุ้มกัน
12.1ตรวจวินิฉัยบำบัดโรคตามมาตฐานที่สภาพยาบาลกำหนด
12.2ส่งผู้ป่วยไปรับการบำบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่นเมื่อตรวจทบอาการรุนแรงขึ้นเป็นโรคติดต่ิต้องแจ้งกฏหมายว่าด้วยโรคติดต่อหรือสาเหตุอื่นที่เกี่ยวกับการบำบัด
ข้อ10.ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ตามข้อกำหนดสภาการพยาบาลในการรักษาโรคเบื้องต้นและให้ภูมิคุ้มกันโรค
โรคำยาธิลำไส้,โรคบิด,โรคไข้หวัด,โรคหัด,โรคสุกใส,โรคคางทูม,โรคไอกรน
โรคผิวหนังเหน็บชา,ปวดฟัน,เหงือกอักเสบ,เจ็บตา,เจ็บหู,โรคติดต่อตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ท้องผูก,ท้องเดิน,คลื่นไส้อาเจียน,การอักเสบต่างๆ,โลหิตจาง,ดีซ่าน,โรคขาดสารอาหาร,อาหารเป็นพิษ
ภาวะแท้งคุกคามหรือแท้งแล้ว,การให้ภูมิคุ้มกันโรคทั้วไปหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด ทารกและเด็ก,ความเจ็บปวดอื่นๆ
ไข้ตัวร้อน,ไข้และผื่นหรือจุด,ไข้จับสั่น,ไอ,ปวดศรีษะ,ปวดเมื่อย,ปวดหลัง,ปวดเอว,ปวดท้อง
ข้อ13 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ถ้าต้องให้ยาได้ตามคู่มือการใช้ยาที่สภาการพยาบาลกำหนด
ข้อ14 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ในการให้ภูมิคุ้มกันต้องเป็นไปตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคตามกระทรวงกำหนด
ข้อ15 ต้องมีบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติการรักษาของผู้ป่วยตามความเป็นจริงไว้เป็นหลักฐาน5ปี
หมวดที่4 การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่1 ระยะก่อนการตั้งครรภ์(ข้อ16-18)
ข้อ16 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ให้การผดุงครรภ์เมื่อต้องการมีบุตรระยะตั้งครรภ์
16.1ประเมินภาวะสุขภาพของหญิงและคู่สมรสเพื่อวางแผนการมีบุตร
16.2การตรวจประเมินภาวะการตั้งครรภ์ด้วยเวชภัณฑ์ทดสอบการตั้งครรภ์
16.3การรับฝากครรภ์
16.3.1การประเมินสุขภาพร่างกายและจิตใจ สอนการปฏิบัติตนของบิดามารดาเพื่อเตรียมการตั้งครรภ์ ก่อนหลังเพื่อเตรียมการคลอด
16.3.2ประเมินการเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบันที่มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
16.3.3ประเมินประวัติทางสูติกรรมจำนวนการตั้งครรภ์รายละเอียดต่างๆของตั้งครรภ์ครั้งก่อน
16.3.4ตรวจทั่วไปและประเมินภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์
16.3.5ตรวจทารกในครรภ์เพื่อประเมินภาวะของครรภ์รวมถึงตรวจเต้านมเพื่อเตรียมพร้อมการให้นม
16.3.6ให้ยาเสริมธาตุเหล็กและโฟเลตแก่หญิงมีครรภ์
16.3.7การให้วัคซีนป้องกันบาดทะยักและวัคซีนอื่นตามสาธารณสุขกำหนด
ข้อ17 แนะนำส่งต่อหญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามเกณฑ์การฝากครรภ์ที่กระทรวงสารธณะกำหนด
ข้อ18 ส่งต่อหญิงมีครรภ์กลุ่มเสี่ยงให้ได้รับการรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือสถานพยาบาลที่มีพร้อมเพื่อความปลอดภัยของหญิงมีครรภ์
ส่วนที่2 ระยะการคลอด(ข้อ 19-25)
ข้อ19ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1 จะกระทำแต่รายที่ตั้งครรภ์ปกติและคลอดปกติตลอดจนการดูแลมารดาทารกแรกเกิด
ข้อ20ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ให้การดูแลระยะก่อนคลอดดังนี้
20.1ประเมินหญิงมีครรภ์
20.1.2กระเมินประวัติการตั้งครรภ์และประวัติเจ็บป่วยอื่นๆที่เกี่ยวกับการตั้งครรภ์
20.1.2การตรวจหน้าท้องเพื่อประเมินความพร้อมคลอด
20.2การตรวจประเมินทารกในครรภ์
20.2.2ประมาณน้ำหนักทารกในครรภ์
20.2.3ส่วนท่าทารกในครรภ์
20.2.1การตรวจการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
20.3การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ข้อ21 การพยาบาลระยะคลอด
21.2การทำคลอดรายปกติเตรียมคลอดเมื่อปากมดลูกเปิดสมบรูณ์ในอุ้งเชิงกรานพร้อมคลอด ตัดเย็บทำการคลอดการดูแลทารกแรกเกิดทันทัน
21.3ทำการคลอดรกใช้ Modified Credé Maneuverในรายที่รกค้างท้ิงไว้เป็นอันตรายเเก่มารดาด้วยวิธีพยุงดึงรั้งสายสะดือถ้ารกไม่คลอดส่งต่อผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือสถานพยาบาลอื่นที่พร้อมทันที
21.1การพยาลหญิงมีครรภ์ได้รับการชักนำการคลอด
21.4การเย็บซ่อมแซมฝีเย็บในรายฉีกขาดไม่เกินระดับ2
21.5ประเมินการเสียเลือด
21.6 ประเมินสัญญาณชีพหลังคลอดทันทีก่อนย้ายออกจากห้องคลอด
ข้อ22 ช่วยเหลือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมในรายที่มีการคลอดผิดปกติ
ข้อ23 ห้ามผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1กระทำเกี่ยวกับการคลอดดังนี้
23.2การทำคลอดที่มีความผิดปกติ
23.3การล้วงรก
23.1การเจาะน้ำคร่ำเพื่อตรวจภาวะ การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์(amniocentesis)
23.5การใช้มือกดท้องในขณะช่วยทำคลอด
23.6การเย็บซ่อมแซ่มที่มีการฉีกระดับ3
23.7การทำแท้ง
23.4การกลับท่าของทารกในครรภ์ทั้งภายในและภายนอกครรภ์
ข้อ24ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ช่วยทำคลอดฉุกเฉินในรายที่ผิดปกติที่ไม่สามารถตรวจพบก่อนทำคลอดและหาผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ให้ทำคลอดในรายนี้ได้แต่ห้ามใช้คีมสู.หรือเครื่องดูดสูญญากาศในการทำคลอดหรือให้ยารัดมดลูกก่อน
ข้อ25ในรายที่มีการตกเลือดหลังคลอดหากปล่อยทิ้งไว้อันตรายให้รักษาอาการตกเลือดเบื้องต้นตามความจำเป็นและส่งต่อทันที
ส่วนที่3 การพยาบาลมารดาทารก ระยะการคลอด(ข้อ26-30)
ข้อ26ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ให้การพยาบาลมารดาหลังการคลอดอย่างใกล้ชิดป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ข้อที่27ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ต้องใช้ยาทำลายและป้องกันการติดเชื้อสำหรับหยอดตาหรือป้ายตาทารกทันที
ข้อ28 การพยาบาลทารกแรกเกิดโดยประเมินสัญญาชีพความผิดปกติที่สามารถเห็นได้ชัดเจนและได้ให้มารดาสัมผัสโอบกอดทารกเเละเริ่มให้เริ่มดูดนมจากมารดาภายใน1 ชม.แรกหลังคลอด
ข้อ29ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ต้องบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของหญิงตั้งครรภ์เป็นหลักฐานระยะเวลา5ปี
ข้อ30 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ทำการพยาบาลก่อน-หลังการคลอดตามแผนการรักษาห้ามทำในรายตั้งครรภ์ผิดปกติ ในการเยี่ยมบ้านที่ไม่ยุ่งยาก
ส่วนที่4การวางแผนครอบครัวและการคัดกรองมารดารและทารก(ข้อ31-33)
ข้อ32ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1สามารถทำการคัดกรองมารดาทารก
32.1การทำ pap smear
32.2ประเมินภาวะสุขภาพความผิดปกติและความพิการทารก
ข้อ33 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น2 ให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรืออุปกรณ์
ถุงยางอนามัย
วงแหวนคุมกำเนิด
การให้ยาคุมกำเนิด(oral contraceptive pills)
แผ่นแปะคุมกำเนิด
ข้อ31ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1วางแผนครอบครัวได้ดังนี้
31.1ให้คำปรึกษากับคู่สมรสในการวางแผนครอบครัวแบบวิธีธรรมชาติ-การคุมกำเนิดด้วยวิธีธรรมชาติไม่ต้องใช้ยาหรืออุปกรณ์
31.2.1ให้บริการวางแผนแบบใช้ยาหรืออุปกรณ์
31.2.2ยาฉีดคุมกำเนิด(oral contraceptive pills),(DMPA)
31.2.3ถุงยางอนามัย
31.2.4วงแหวนคุมกำเนิด
31.2.5แผ่นแปะคุมกำเนิดชนิดแปะผิวหนัง
31.2.6การฝังและถอดยาคุมกำเนิด
อื่นๆตามกระทรวงสาธารณสุข
ส่วนที่5 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดา ทารก และเด็ก
ข้อ34ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันที่กระทรวงธารณสุขกำหนด
ข้อ35ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น2 ให้คำปรึกษาเรื่องการเข้ารับวัคซีนรับภูมิคุ้มกันและติดตามให้มารับภูมิคุ้มกันโรค
นางสาวจตุพร ชูชมชื่น 2B เลขที่9 รหัส63123301012