มารดา G1P0 GA 38 +4 wks c elderly gravida c GDM diet control, ANC ที่ รพ.รร6 x 13 ครั้ง, เวลา 01.20น. มารพ.ด้วยอาการมีน้ำใสไหลออกมาจากช่องคลอด 1ชม30นาที PTA มีลักษณะมีเลือดปนเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ท้องแข็งถี่ขึ้นตั้งแต่เที่ยงคืน ลูกดิ้นดี,
PVแรกรับ os dilate 1 cm eff 50% MR Vx mid soft, UCแรกรับ 55"-60"/4'-5'/2+, cough test positive, Dx in labour admit for vaginal delivery on augmentation 5%DNSS 1000 ml + Oxytocin 10 U rate 40 microdrop/min และ 5%DN/2 1000 ml rate 100 cc/hr, เวลา 11.30น. PV os dilate 4 cm eff 100% station -2 MR Vx mid soft, UC 55"/2'-2'30"/2+ FHS 150 bpm Painscore 10 แพทย์จึงพิจารณาให้ Pethidine 50 mg v หลังจากนั้น 15 นาที ประเมิน Pain score = 7 คะแนน sedation score =1, เวลา 13.30น. PV os dilate 5 cm eff 100% station-1 MR Vx mid soft, UC 55"-60"/2'30"/2+, FHS 150 bpm
14.00น. V/S T 36.6c, HR 62 bpm, RR 18 bpm,
BP 150/92 mmHg repeat ได้ BP 160/105 mmHg notify แพทย์ แพทย์พิจารณาให้เจาะ toxemia lab, retain folley cath, start loading dose 10% MgSO4 4 g IV slow push then 5% Dw920ml + 50% MgSO4 40 gm rate 50 cc/hr และ IV main line Acetar 1000 ml 50cc/hr ขณะฉีด MgSO4 monitor V/S q 15 min ประเมิน S/E ของยา ได้แก่ กดการหายใจ muscle relaxant ประเมิน deep tendon reflex, ประเมินภาวะ Pulmonary edema โดยการฟัง lung, ประเมินอาการของภาวะ SPE ทุก 1 hr
Dx.ทารกมีโอกาสเกิดภาวะ birth asphyxia เนื่องจากผู้คลอดมีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ชนิดรุนแรงและได้รับยา MgSO4
-
เกณฑ์การประเมิน
- ผลการประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์ ด้วยเครื่องติดตามการเต้นของหัวใจและการหดรัดตัวของมดลูก (Electronic Fetal Monitoring : EFM) ปกติ
- ทารกแรกเกิดมีคะแนน APGAR Score ที่ 1 นาทีมากกว่า 7 คะแนน
ข้อมูลสนับสนุน
S.D. : -
O.D. :
- มารดา G1P0 GA 38+4 wks
- BP : 131-168/85-110 mmHg
- มารดาได้รับยา 10% MgSO4
- มารดามีภาวะ GHT with severe feature
การพยาบาล
- ให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้าย เพื่อลดการกดทับที่บริเวณเส้นเลือดอินฟีเรีย เวนาคาวา(in ferior venacava) ทำให้เลือดสามารถไหลเวียนเพิ่มขึ้นที่มดลูกและรก
- ให้ออกซิเจนทางหน้ากากในอัตรา 10 ลิตร/นาที เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนแก่ทารกในครรภ์
- Monitoring FHS อย่างใกล้ชิดเพื่อประเมินสภาพทารกในครรภ์
- เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิดให้พร้อมใช้หากทารกแรกเกิดมีภาวะขาดออกซิเจนหรือต้องมีการช่วยฟื้นคืนชีพ
- อธิบายอาการและสภาพทารกแรกเกิดให้ผู้คลอดทราบ เพื่อลดความวิตกกังวล
- ประสานกับพยาบาลหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด เพื่อส่งต่อทารกไปดูแลต่อเนื่อง
-
-