Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยNCDs กลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวัง NCD-feature-graphic-3-e1476884269151,…
ผู้ป่วยNCDs กลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวัง
ด้านเทคโนโลยี
Delivery
กลุ่มผู้ใช้บริการสั่งอาหารออนไลน์มากที่สุดคือ Gen Y (อายุ 19-38 ปี) จำนวน 51.09% รองลงมาคือกลุ่ม Gen X (อายุ 39-54 ปี) กลุ่ม Baby Boomer (อายุ 55-73 ปี) และกลุ่ม Gen Z (อายุต่ำกว่า 19 ปี) การสำรวจยังพบด้วยว่า อาหารยอดนิยมที่ทุก Gen สั่งมากกว่า 61.06% คืออาหารจำพวกฟาสต์ฟู้ด
-
ตัวอย่าง 7eleven , LINE MAN , Foodpanda
เครื่องใช้ไฟฟ้า
ปัจจุบันผู้คนจำนวนมากหันมาพึ่งพาเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น เนื่องจากสามารถตอบโจทย์การใช้ชีวิตทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะในเรื่องของการประหยัดแรงงานและเวลา จนมีแนวโน้มที่จะนำไปสู่สังคมของความเคยชิน
ทำให้เกิดเทคโนโลยีที่ตอบสนองความต้องการ หรือสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกขึ้น อาทิ เครื่องล้างจ้าน เครื่องซักผ้า เครื่องพับผ้า เครื่องดูดฝุ่น เป็นต้น
ส่งผลให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล ทำให้เกิดความขี้เกียจ เเละไม่อยากทำสิ่งที่เราสามารถทำได้ในชีวิตประจำวัน ส่งผลทำให้ขาดการออกกำลังกายที่สามารถทำได้ง่ายๆ
การเดินทาง
ในยุคปัจจุบัน ที่ชีวิตต้องแข่งขันกับเวลากันมากขึ้น ต้องพึ่งพาอาหารนอกบ้าน ทั้งยังต้องเผชิญกับปัญหา
สภาพแวดล้อม เช่น การจราจรติดขัด เกิดความเครียด ไม่มีเวลาพักผ่อน จึงส่งผลต่อสุขภาพทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยตามมา
ฟาสต์ฟู้ด จึงเป็นอาหารที่ปรุงไว้แล้ว สามารถเสิร์ฟให้กับลูกค้าได้ในทันที หรือใช้เวลา อันสั้นมากในการเตรียมก่อนเสิร์ฟ เพราะอาหารเหล่านี้ มักถูกเตรียมและปรุงไว้จนสำเร็จรูป หรือเกือบสำเร็จรูปแล้ว เมื่อลูกค้าสั่งก็จะเหลือแค่ขั้นตอนสุดท้าย หรือการอุ่นเท่านั้น ซึ่งก็มักจะใช้เวลาไม่กี่นาที
ฟาสต์ฟู้ดอาจจะมีประโยชน์และคุณค่าทางโภชนาการครบหรือไม่ครบ ส่งผลทำให้เกิดของการสะสมของเเป้ง ไขมัน โซเดียม เเละน้ำตาล
-
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
การจัดสภาพแวดล้อมภายในชุมชนให้เอื้อต่อการออกกำลังกาย เช่น การจัดหาอุปกรณ์ออกกำลังกาย หรือจัดกิจกรรมออกกำลังกาย เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการออกกำลังกาย เพื่อลดการเกิดโรคNCDs
-
ฝุ่น หรือ ควันจากโรงงานอุตสาหกรรมภายในชุมชน เป็นมลพิษทางอากาศที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ โดยผลกระทบจากสิ่งเหล่านี้ส่งผลต่อระบบต่าง ๆในร่างกาย ดังนี้ ระบบทางเดินหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือด และโรคมะเร็ง
-
ด้านเศรษฐกิจ
พลวัตที่เกี่ยวข้อง
-
-
- การตื่นตัวเรื่องการแพทย์ไทย ภูมิปัญญาสุขภาพไทย
ผู้คนสนใจในการดูแลสุขภาพลดลงเพราะคิดว่าเป็นการใช้จ่ายสิ้นเปลือง มักจะดูแลสุขภาพโดยการดื่มน้ำต้มสมุนไพร หรือซื้อยาชุดกินเอง ซึ่งจะก่อให้เกิดโรค NCDs ตามมา
การออกกำลังกาย
ผู้คนให้ความสำคัญเกี่ยวกับการออกกำลังกายลดลงเนื่องจากหันไปสนใจการหารายได้แก่ตนเองมากขึ้น ทำให้ไม่มีเวลามาดูแลสุขภาพของตนเองเท่าที่ควร
-
ด้านสังคม
สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่เสี่ยง ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพก่อให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปัจจัยเสี่ยงในยุคบริโภคนิยมและโลกาภิวัตน์ การจัดการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง/พฤติกรรมเสี่ยง
พฤติกรรมของประชาชนในสังคมกลายเป็นนโยบายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส. ประกอบด้วยการบริโภคอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ การสูบบุหรี่และการบริโภคสุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ซึ่งได้รับอิทธิพลจากปัจจัยต่างๆ พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพมีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงในสังคมและสังคมบริโภคนิยมมีส่วนเร่งให้ประชนชนในสังคมเข้าถึงปัจจัยเสี่ยงสุภาพโดยง่าย มีพฤติกรรมตัดสินใจเลือกบริโภคที่เสี่ยงต่อสุขภาพมากขึ้น
-
-
รายชื่อ
นางสาวคณิตรา สัสดี ชั้นปีที่ 3 ห้องB เลขที่ 10
นางสาวจิรัฏฐา นารีแก้ว ชั้นปีที่ 3 ห้องB เลขที่ 11
นางสาวจิราพร ทองดอนพุ่มชั้นปีที่ 3 ห้อง B เลขที่ 12
นางสาวนพวรรณ ผายชำนาญชั้นปีที่ 3 ห้อง B เลขที่ 33
นางสาวปทุมมาศ สวนสุจริตชั้นปีที่ 3 ห้อง B เลขที่ 45
นางสาว ปาริฉัตร กิจอภิบาลชั้นปีที่ 3ห้อง B เลขที่ 51
นางสาวพิมนภา ขันเล็กชั้นปีที่ 3 ห้อง B เลขที่ 57
นางสาววรวลัญช์ อุ่นศิริชั้นปีที่ 3 ห้อง B เลขที่ 68
นางสาววรานิตย์ ตราชูนิตชั้นปีที่ 3 ห้อง B เลขที่ 69
นางสาวสุมิตรา น้อยนิตย์ ชั้นปีที่ 3 ห้อง B เลขที่ 88
-